ebook img

TCPS 990-2555: GU-RONG SUIT (MOSLEM LADIES PDF

2012·0.71 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 990-2555: GU-RONG SUIT (MOSLEM LADIES

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 990-2555 (2012) (Thai): GU-RONG SUIT (MOSLEM LADIES มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน THAI COMMUNITY PRODUCT STANDARD มผช.๙๙๐/๒๕๕๕ ชุดกูรง BLOUSES AND SKIRTS, GU-RONG STYLE สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 61.020 ISBN 978-616-231-333-2 มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ชุดกูรง มผช.๙๙๐/๒๕๕๕ สํานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ ๖ กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐–๒๒๐๒–๓๓๖๓-๔ ประกาศสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๗๒๓ (พ.ศ. ๒๕๕๔) เรื่อง ยกเลกิ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน ชุดกูรง โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ชุดกูโรง มาตรฐานเลขที่ มผช.๙๙๐/ ๒๕๔๘ และคณะอนุกรรมการพิจารณามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน คณะที่ ๒ มีมติในการประชุมครั้งที่ ๑๙-๑/ ๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ใหยกเลิกมาตรฐานผลติ ภัณฑชุมชน ชุดกูโรง มาตรฐานเลขที่ มผช. ๙๙๐/๒๕๔๘ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ชุดกูรง ขึ้นใหม  สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมจึงออกประกาศยกเลิกประกาศสํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๐๐๘ (พ.ศ.๒๕๔๘) ลงวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และออก ประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ชุดกูรง มาตรฐานเลขที่ มผช.๙๙๐/๒๕๕๕ ขึ้นใหม ดังมี รายละเอียดตอทายประกาศนี้ ทั้งนี้ ใหมีผลบังคับใชนบั แตวนั ที่ประกาศ เปนตน ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ นายณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ เลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ ุตสาหกรรม มผช.๙๙๐/๒๕๕๕ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ชุดกูรง ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะชุดกูรงที่ตัดเย็บจากผาทอสีพื้นหรือลาย ซึ่งใชเสนดายที่ทําจาก เสนใยธรรมชาติ (ยกเวนเสนใยจากสัตว) เสนใยประดิษฐ และเสนใยผสม ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปน ี้ ๒.๑ ชุดกูรง หมายถึง เครื่องแตงกายสําหรับผูหญิงชาวไทยมุสลิม ประกอบดว ยเสื้อและกระโปรง โดยเสื้อมีลักษณะ เปนเสื้อตัวหลวม คอกลมสวมหัวหรือผาดานหนาแลวใชซปิ สั้นหรือติดกระดุม แขนแทรกเปาและยาวถึงขอมือ ตัวเสื้อแทรกผา ดา นขาง ๒ ขาง ทั้งดานหนาและดานหลัง ความยาวเสื้อคลุมเขา สว นกระโปรงมีความยาว ถึงขอเทา จับจีบดา นขางดานใดดา นหนึ่ง อาจใชแถบยางยืดที่ขอบเอว มีซับใน ใชว ัสดุเกาะเกี่ยว เชน ซิป กระดุม ขอเกี่ยว หรือตกแตงโดยการปก ลูกไม มุก ลูกปด เลื่อม ไหมปก หรือวัสดุอื่นเพื่อความสวยงาม ดังตัวอยางรูปที่ ๑ และรูปที่ ๒ ๒.๒ เสนใยธรรมชาติ (natural fibres) หมายถงึ เสน ใยที่มาจากพืช เชน ฝาย ลินนิ ๒.๓ เสนใยประดษิ ฐ (man-made fibres) หมายถึง เสนใยสังเคราะห (synthetic fibres) เชน ไนลอน พอลิเอสเทอร อะคริลิก และเสนใยกึ่งสังเคราะห (regenerated fibres) เชน แอซีเทต วิสโคส (เรยอน) ๒.๔ เสนใยผสม หมายถึง เสนใยตั้งแต ๒ ชนดิ ขึ้นไปผสมกัน โดยอาจเปนเสนใยธรรมชาติผสมกับเสนใยธรรมชาต ิ เสนใยธรรมชาติผสมกบั เสน ใยประดษิ ฐ หรอื เสนใยประดษิ ฐผสมกบั เสนใยประดษิ ฐ เชน ฝายผสมพอลิเอสเทอร  วิสโคสผสมพอลิเอสเทอร ๒.๕ ความกวางไหลเสื้อ หมายถึง ความกวางที่วัดจากตะเข็บวงแขนดานบนของดา นหลังตัวเสื้อดานหนึ่งไปยัง อีกดานหนึ่ง ๒.๖ รอบอกเสื้อ หมายถึง ความกวางที่วัดจากตะเข็บขางที่อยูหางจากจุดตัดใตวงแขนแทรกเปาลงมา ๒.๕ เซนติเมตร ดานหนึ่งไปยังอีกดานหน่งึ แลวคูณดวย ๒ โดยไมรวมสวนแทรกเปา ๒.๗ ความยาวเสื้อ หมายถึง ความยาวที่วัดจากกึ่งกลางคอดานหลังจนถึงชายเสื้อ ๒.๘ รอบเอวกระโปรง หมายถึง ความกวางที่นอ ยที่สุดของกระโปรง ๒.๙ รอบสะโพกกระโปรง หมายถึง ความกวางที่วัดจากตะเข็บขางของกระโปรงซึ่งอยูตา่ํ จากริมขอบเอวลางสุด ลงมา ๒๐ เซนติเมตร ดา นหนึ่งไปยังอีกดานหนึ่ง แลวคูณดว ย ๒ ๒.๑๐ ความยาวกระโปรง หมายถงึ ความยาวที่วดั จากริมขอบเอวบนสุดดา นขางถึงชายกระโปรง - ๑ - มผช.๙๙๐/๒๕๕๕ รูปที่ ๑ ตัวอยา งชุดกูรง (ขอ ๒.๑) แขนแทรกเปา รูปท ี่ ๒ ลักษณะแขนแทรกเปาของชุดกูรง (ขอ ๒.๑) - ๒ - มผช.๙๙๐/๒๕๕๕ ๓. มิต ิ ๓.๑ มิติของเสื้อ ความกวา งไหลเสื้อ รอบอกเสื้อ ความยาวเสื้อ ใหเปน ไปตามที่ระบไุ วทฉี่ ลาก โดยมีเกณฑค วามคลาดเคลื่อน ๒ เซนติเมตร ± การทดสอบใหใชอุปกรณวัดที่มีความละเอียดไมนอยกวา ๑ มิลลิเมตร หรือ ๑ สวน ๘ นิ้ว ๓.๒ มิติของกระโปรง รอบเอวกระโปรง รอบสะโพกกระโปรง ความยาวกระโปรง ใหเปนไปตามที่ระบุไวที่ฉลาก โดยมีเกณฑ ความคลาดเคลื่อน ๒ เซนติเมตร ± การทดสอบใหใชอุปกรณวัดที่มีความละเอียดไมนอยกวา ๑ มิลลิเมตร หรือ ๑ สวน ๘ นิ้ว ๔. คุณลักษณะที่ตองการ ๔.๑ ลักษณะทั่วไป ตองสะอาด เรียบรอย ประณีต สวยงาม ตัวเสื้อและกระโปรงตองใชผาตามแนวเสนดายยืน และไมมีขอบกพรอง หรือตําหนิที่มผี ลตอการใชงาน เชน รู ดา ยขาด รอยแยก ดาง เปรอะเปอน การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๔.๒ เอกลักษณ ตองมีลักษณะเฉพาะของชุดกูรง คือ เสอื้ ตัวหลวม คอกลมสวมหัวหรือผาดา นหนาแลวใชซิปสนั้ หรือตดิ กระดุม แขนแทรกเปาและยาวถึงขอมือ ตวั เสื้อแทรกผา ดานขา ง ๒ ขาง ทั้งดา นหนา และดา นหลัง ความยาว เสื้อคลุมเขา สว นกระโปรง มคี วามยาวถึงขอ เทา จับจีบดา นขางดา นใดดานหนึ่ง การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๔.๓ การเย็บ ๔.๓.๑ ตะเข็บสวนตางๆ ตองเรยี บรอย แนน ไมห ลุดลุยงาย ฝเข็มสม่ําเสมอทั้งดานนอกและดานในตัวเสื้อ ไมตึงหรือรั้ง และไมนอยกวา ๔๔ ฝเข็มตอความยาว ๑๐ เซนติเมตร และริมผา ดา นในของตะเขบ็ ตองเกบ็ ริมใหเรียบรอยหรือเย็บแบบพันริมผา (พง) ดวยดายเย็บสีเดียวกันหรือใกลเคียงกับสีผา เพื่อกันการหลุดลุยของผา และใชฝเข็มไมนอยกวา ๓๒ ฝเข็มตอความยาว ๑๐ เซนติเมตร ๔.๓.๒ กรณีเย็บตะเข็บสวนตางๆ พรอมการเย็บพันริมผาเพื่อกันการหลุดลุยของผาดวยจักรอุตสาหกรรม ตองเรียบรอย แนน ไมหลุดลุยงาย ฝเข็มสม่ําเสมอทั้งดานนอกและดานในตัวเสื้อ ไมตึงหรือรั้ง และไมนอยกวา ๔๔ ฝเข็มตอความยาว ๑๐ เซนติเมตร ๔.๓.๓ การพับริมผาและการสอย เชน ปลายแขน ชายเสื้อ ตองเรียบรอย แนน ไมหลดุ ลุยงาย ๔.๓.๔ กรณีที่มีการติดวัสดุเกาะเกี่ยว ตองประณีต เรียบรอย ติดแนน และเหมาะสมกับแบบและเนื้อผา ไมมีขอบคม ปลายแหลม กรณีเปนโลหะตองไมมีสนิม ๔.๓.๕ กรณีที่มีการปกหรือตกแตงดวยวัสดุอื่น ตอ งประณีต สวยงาม ตดิ แนน และเหมาะสมกับเนื้อผา การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจและการวัด - ๓ - มผช.๙๙๐/๒๕๕๕ ๔.๔ ชนิดเสนใยของผาทอที่ใช  ตองเปนไปตามที่ระบุไวที่ฉลาก การทดสอบใหปฏิบัตติ ามขอ ๘.๒ ๔.๕ ความเปนกรด-ดาง ตองอยูระหวาง ๕.๐ ถึง ๗.๕ การทดสอบใหปฏิบัตติ าม ISO 3071 ๔.๖ ปริมาณฟอรมาลดไี ฮด ตองนอยกวา ๗๕ มิลลิกรัมตอกิโลกรัม การทดสอบใหปฏิบัตติ าม ISO 14184-1 ๔.๗ สีเอโซที่ใหแอโรแมติกแอมนี ๒๔ ตัว (รายละเอียดดังในภาคผนวก ก.) ตองไมเกิน ๓๐ มิลลิกรัมตอ กิโลกรัม การทดสอบใหปฏิบัตติ าม EN 14362 Part 1 และ EN 14362 Part 2 ๔.๘ การเปลี่ยนแปลงขนาดภายหลังการซักและทําใหแหง ตองไมเกินรอยละ ๕ การทดสอบใหปฏิบัตติ ามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบส่ิงทอ เลม ๒๑ การเปลี่ยนแปลง ขนาดภายหลังการซักและทาํ ใหแหง มาตรฐานเลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๒๑ ซักโดยใชเครื่องซักผาแบบ ก. (เครื่องซักผาแบบบรรจุดา นหนา) เลขทวี่ ิธีทดสอบเทยี บเทาการซักดวยมือ และทาํ ใหแหงโดยวธิ ีแขวนราว ๔.๙ ความคงทนของสีตอการซัก (ยกเวนผาสีขาว) ตองไมนอยกวา เกรยสเกลระดับ ๓ ทั้งการเปลี่ยนสีและการเปอนสี กรณีที่มีลายปกสขี าวหรือสีออ นและสเี ขม ปนกนั สีเขมตอ งไมตกติดสขี าวหรือสีออนของชุดกูรงใหเห็นอยางชัดเจน การทดสอบใหปฏิบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบส่ิงทอ เลม ๓ ความคงทนของสี ตอการซักดวยสบูหรือสบูและโซดา มาตรฐานเลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๓ โดยใชวิธีทดสอบ A (1) ในกรณี ที่มีลายปก การเตรียมตัวอยางใหตดั ชิ้นทดสอบสวนที่มลี ายปกดวย ๔.๑๐ ความคงทนของสีตอเหงื่อ ทั้งสภาพกรดและสภาพดา ง (ยกเวนผาสีขาว) ตองไมนอยกวา เกรยสเกลระดับ ๓ ทั้งการเปลี่ยนสีและการเปอนส ี กรณีที่มีลายปกสขี าวหรือสีออ นและสเี ขม ปนกนั สีเขมตอ งไมตกติดสขี าวหรือสีออนของชุดกูรงใหเห็นอยางชัดเจน การทดสอบใหป ฏิบตั ติ ามมาตรฐานผลติ ภณั ฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบสิ่งทอ เลม ๔ ความคงทนของสีตอเหงื่อ ทั้งสภาพกรดและสภาพดาง มาตรฐานเลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๔ ในกรณีที่มีลายปก การเตรียมตัวอยางใหตดั ชิ้นทดสอบสวนที่มีลายปกดว ย ๔.๑๑ ความคงทนของสีตอการขดั ถ ู ทั้งสภาพเปยกและสภาพแหง (ยกเวนผาสีขาวและชดุ กรู งที่มีลายปก) ตองไมนอยกวาเกรยสเกลระดับ ๓ เฉพาะการเปอนสี การทดสอบใหปฏิบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบสิ่งทอ เลม ๕ ความคงทนของสี ตอการขัดถู มาตรฐานเลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๕ ๔.๑๒ ความคงทนของสีตอแสงซีนอนอารก เมื่อเทียบกบั ผาบลูวูลมาตรฐาน ตองไมนอยกวาระดับ ๓ ๔ - - ๔ - มผช.๙๙๐/๒๕๕๕ การทดสอบใหปฏิบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบสิ่งทอเลม ๒ ความคงทนของสี ตอแสงซีนอนอารก มาตรฐานเลขที่ มอก.๑๒๑ เลม ๒ ๕. การบรรจุ ๕.๑ ใหหุมหอหรือบรรจุชุดกูรงในบรรจุภัณฑที่เหมาะสม สะอาด แหง เรียบรอย และสามารถปองกันความเสียหายที่ อาจเกิดขึ้นกบั ชุดกูรงได  การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๖. เครื่องหมายและฉลาก ๖.๑ ที่ฉลากหรือบรรจุภัณฑชุดกูรงทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียด ตอไปนี้ใหเหน็ ไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อผลิตภัณฑ  (ตามชื่อ มผช.) (๒) มิติ เชน ความกวางไหลเสื้อ รอบอกเสื้อ ความยาวเสื้อ รอบเอวกระโปรง รอบสะโพกกระโปรง ความยาว กระโปรง เปนเซนติเมตรหรือนิ้ว (๓) ชนิดเสนใยของผาทอที่ใช  (๔) เดือน ปที่ทํา (๕) ขอแนะนําในการดูแลรักษา (ถามี) เชน แยกซักกับผาสอี ื่น (๖) ชื่อผูทํา หรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีที่ใชภาษาตา งประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทกี่ ําหนดไวขางตน ตัวอยางการแสดงฉลาก ชุดกูรง เสื้อ : ความกวา งไหลเสื้อ .... เซนติเมตร รอบอกเสื้อ .... เซนติเมตร ความยาวเสื้อ ... เซนติเมตร กระโปรง : รอบเอวกระโปรง ... เซนติเมตร รอบสะโพกกระโปรง ... เซนติเมตร ความยาวกระโปรง... เซนติเมตร เอกลักษณ  เสอื้ : เสื้อตัวหลวม คอกลมสวมหัว แขนแทรกเปาและยาวถึงขอมือ ตัวเสื้อแทรกผาดา นขาง ๒ ขา ง ทั้งดานหนาและดานหลัง ความยาวเสื้อคลุมเขา กระโปรง : ความยาวกระโปรงถึงขอเทา จับจีบดานขางดานใดดา นหนึ่ง ชนิดเสนใยผาทอที่ใช ผา ทอลายขัด ฝายผสมพอลิเอสเทอร รอยละ ๓๕ ตอรอยละ ๖๕ เดือนปที่ทาํ ขอแนะนําในการดูแลรักษา เชน แยกซักกบั ผาสีอนื่ ชื่อผูทํา ..... ทอี่ ยู ..... - ๕ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.