ebook img

TCPS 960-2548: MUSICAL INSTRUMENT : KLONG CHANA PDF

2005·0.47 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 960-2548: MUSICAL INSTRUMENT : KLONG CHANA

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 960-2548 (2005) (Thai): MUSICAL INSTRUMENT : KLONG CHANA มผช.๙๖๐/๒๕๔๘ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน กลองชนะ ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลติ ภณั ฑช มุ ชนนคี้ รอบคลมุ เฉพาะกลองชนะทที่ าํ ดว ยไมแ ละหนงั สตั วเปน วสั ดหุ ลกั ไมค รอบคลมุ ถงึ กลองชนะจําลองที่สรางขึ้นเพื่อใชเปนของประดับตกแตงหรือเปนของที่ระลึก ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปนี้ ๒.๑ กลองชนะ หมายถึง เครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตีชนิดหนึ่ง ประกอบดวยตัวกลองและไมตี ตัวกลอง ทําดวยไมช นิดและอายุที่เหมาะสม เชน ไมชิงชัน ไมประดู นํามากลึงและควาน ผึ่งใหแหง ขัดผิวใหเรียบ ตกแตง ขอบกลอง ทาสแี ละสารเคลอื บเงาเพอื่ ความสวยงาม ขงึ หนา กลองทงั้ ๒ ดา นดว ยหนงั สตั วช นดิ และ ความหนาที่เหมาะสม ติดสายคลองคอ มีรัดอกและสายโยงเรงเสียงซึ่งทําดวยหนังสัตวเพื่อเรงเสียงตาม ระดับเสียงที่ถูกตองและสามารถนาํ ไปบรรเลงตามโอกาสตา งๆ ได  สว นไมต ี ทาํ ดว ยไมห รอื หวาย ดังรูปที่ ๑ ไมตี ขอบกลอง หนากลอง สายคลองคอ รัดอก สายโยงเรงเสียง ตัวกลอง รูปที่ ๑ ตัวอยางกลองชนะ (ขอ ๒.๑) - ๑ - มผช.๙๖๐/๒๕๔๘ ๓. คุณลักษณะที่ตองการ ๓.๑ ลักษณะทั่วไป ๓.๑.๑ ตวั กลอง ตอ งเรยี บ ไมป รากฏขอ บกพรอ ง เชน รอยรา ว รอยแตก รอ งรอยการเจาะกดั กนิ ของแมลง มลี กั ษณะ เปน กลอง ๒ หนา รปู รา งทรงกระบอก ยาวประมาณ ๕๒ เซนตเิ มตร หนา กลองดา นใหญก วา งประมาณ ๒๖ เซนติเมตร หนากลองดานเล็กกวางประมาณ ๒๔ เซนติเมตร มีขนาดและสัดสวนเหมาะสม เปนไปตามลักษณะที่ดีของกลองชนะ ๓.๑.๒ ไมต ี ตองมีขนาดและน้ําหนักพอเหมาะ ปราศจากเสี้ยน ๓.๑.๓ การประกอบ ตองประณีต ติดแนน คงทน ไมมีรอยแตก ราว หรือตําหนิ ๓.๒ สี ตองเรียบ สม่ําเสมอ และเมื่อลูบผลิตภัณฑแลวสีตองไมติดมือ ๓.๓ การขัดผิวและการเคลือบเงา ตองเรียบ สม่ําเสมอ ไมเปนเม็ด เปนคราบ กรอบ แตก หลุด หรือลอก ๓.๔ การใชงาน เมื่อตีกลองชนะแลว ตองมีระดับเสียงที่ถูกตอง ดังชัดเจน กองกังวาน ไมอับ เมื่อตรวจสอบโดยวิธีใหคะแนนตามขอ ๗.๑ แลว ตองไดคะแนนเฉลี่ยของแตละลักษณะจากผูตรวจสอบทุกคน ไมนอยกวา ๓ คะแนน และไมมีลักษณะใดได ๑ คะแนนจากผูตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง ๔. การบรรจุ ๔.๑ หากมกี ารบรรจ ุ ใหบ รรจกุ ลองชนะในภาชนะบรรจทุ สี่ ะอาด แหง เรยี บรอ ย และสามารถปอ งกนั ความเสยี หาย ที่อาจเกิดขึ้นกับกลองชนะได - ๒ - มผช.๙๖๐/๒๕๔๘ ๕. เครื่องหมายและฉลาก ๕.๑ ทฉี่ ลากหรอื ภาชนะบรรจกุ ลองชนะทกุ หนว ย อยา งนอ ยตอ งมเี ลข อกั ษร หรอื เครอื่ งหมายแจง รายละเอยี ด ตอไปนี้ใหเห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อผลิตภัณฑ (๒) ขนาดหรือมิติ (๓) เดือน ปที่ทํา (๔) ขอแนะนําในการใชและการดูแลรักษา (๕) ชื่อผูทําหรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีที่ใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กําหนดไวขางตน ๖. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๖.๑ รุน ในที่นี้ หมายถึง กลองชนะที่ทําหรือสงมอบหรือซื้อขายในระยะเวลาเดียวกัน ๖.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๖.๒.๑ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบการบรรจแุ ละเครอื่ งหมายและฉลาก ใหช กั ตวั อยา ง โดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๑ ตัวอยาง เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๔. และ ขอ ๕. จึงจะถือวากลองชนะรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๖.๒.๒ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบลกั ษณะทวั่ ไป ส ี การขดั ผวิ และการเคลอื บเงา และ การใชง าน ใหใ ชต วั อยา งทผี่ า นการทดสอบตามขอ ๖.๒.๑ แลว จาํ นวน ๑ ตวั อยา ง เมอื่ ตรวจสอบแลว ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๑ ถงึ ขอ ๓.๔ จงึ จะถอื วา กลองชนะรนุ นนั้ เปน ไปตามเกณฑท กี่ าํ หนด ๖.๓ เกณฑตัดสิน ตัวอยางกลองชนะตองเปนไปตามขอ ๖.๒.๑ และขอ ๖.๒.๒ ทุกขอ จึงจะถือวากลองชนะรุนนั้นเปนไป ตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ ๗. การทดสอบ ๗.๑ การทดสอบลักษณะทั่วไป ส ี การขดั ผวิ และการเคลอื บเงา และการใชง าน ๗.๑.๑ ใหแ ตง ตงั้ คณะผตู รวจสอบ ประกอบดว ยผทู มี่ คี วามชาํ นาญในการตรวจสอบกลองชนะอยา งนอ ย ๕ คน แตละคนจะแยกกันตรวจและใหคะแนนโดยอิสระ ๗.๑.๒ หลักเกณฑการใหคะแนน ใหเปนไปตามตารางที่ ๑ - ๓ - มผช.๙๖๐/๒๕๔๘ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑการใหคะแนน (ขอ ๗.๑.๒) ระดับการตัดสิน (คะแนน) ลักษณะที่ตรวจสอบ เกณฑที่กําหนด ดีมาก ดี พอใช ตองปรับปรุง ลักษณะทั่วไป ตัวกลอง ๔ ๓ ๒ ๑ ตองเรียบ ไมปรากฏขอบกพรอง เชน รอยราว รอยแตก รองรอยการเจาะกัดกิน ของแมลง มีลักษณะเปนกลอง ๒ หนา รูปรางทรงกระบอก ยาวประมาณ ๕๒ เซนติเมตร หนากลองดานใหญกวาง ประมาณ ๒๖ เซนติเมตร หนากลองดาน เล็กกวางประมาณ ๒๔ เซนติเมตร มี ขนาดและสัดสวนเหมาะสม เปนไปตาม ลักษณะที่ดีของกลองชนะ ไมตี ๔ ๓ ๒ ๑ ตอ งมขี นาดและนา้ํ หนกั พอเหมาะ ปราศจาก เสี้ยน การประกอบ ๔ ๓ ๒ ๑ ตอ งประณตี ตดิ แนน คงทน ไมม รี อยแตก ราว หรือตําหนิ สี ตอ งเรยี บ สมา่ํ เสมอ และเมอื่ ลบู ผลติ ภณั ฑ ๔ ๓ ๒ ๑ แลว สีตองไมติดมือ การขัดผิวและ ตองเรียบ สม่ําเสมอ ไมเปนเม็ด เปน ๔ ๓ ๒ ๑ การเคลือบเงา คราบ กรอบ แตก หลุด หรือลอก การใชงาน เมอื่ ตกี ลองชนะแลว ตอ งมรี ะดบั เสยี งท ี่ ถกู ๔ ๓ ๒ ๑ ตอ ง เสยี งดงั ชดั เจน กองกังวาน ไมอับ ๗.๒ การทดสอบการบรรจุและเครื่องหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ - ๔ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.