ebook img

TCPS 916-2554: CLEANSING PRODUCTS FOR SILVER AND GOLD JEWELRY PDF

2011·0.59 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 916-2554: CLEANSING PRODUCTS FOR SILVER AND GOLD JEWELRY

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 916-2554 (2011) (Thai): CLEANSING PRODUCTS FOR SILVER AND GOLD JEWELRY มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน THAI COMMUNITY PRODUCT STANDARD มผช.๙๑๖/๒๕๕๔ ผลิตภัณฑทําความสะอาดเครื่องประดับเงิน และเครื่องประดับทอง CLEANSING PRODUCTS FOR SILVER AND GOLD JEWELRY สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 71.100.40 ISBN 978-616-231-217-5 มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผลิตภัณฑทําความสะอาดเครื่องประดับเงิน และเครื่องประดับทอง มผช.๙๑๖/๒๕๕๔ สํานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ ๖ กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐–๒๒๐๒–๓๓๔๔-๕ ประกาศสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๖๙๖ (พ.ศ. ๒๕๕๔) เรื่อง ยกเลกิ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน ผลิตภัณฑทาํ ความสะอาดเครื่องประดับเงินและเครื่องประดับทอง โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผลติ ภัณฑท ําความสะอาดเครื่องประดบั เงิน และเครื่องประดับทอง มาตรฐานเลขที่ มผช.๙๑๖/๒๕๔๘ และคณะอนุกรรมการพิจารณามาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน คณะที่ ๑ มีมติในการประชุมครั้งที่ ๒๒-๒/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ใหย กเลิกมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑชุมชน ผลติ ภณั ฑทาํ ความสะอาดเครื่องประดบั เงนิ และเครื่องประดบั ทอง มาตรฐานเลขที่ มผช.๙๑๖/๒๕๔๘ และกาํ หนดมาตรฐานผลติ ภณั ฑชุมชน ผลติ ภัณฑทาํ ความสะอาดเครื่องประดบั เงนิ และเครื่องประดับทอง ขึ้นใหม สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมจึงออกประกาศยกเลิกประกาศสํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๙๓๓ (พ.ศ.๒๕๔๘) ลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และออกประกาศ กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผลิตภัณฑทําความสะอาดเครื่องประดับเงินและเครื่องประดับทอง มาตรฐานเลขที่ มผช.๙๑๖/๒๕๕๔ ขึ้นใหม ดังมีรายละเอียดตอทายประกาศนี้ ทั้งนี้ ใหมีผลบังคับใชนับแตวันที่ประกาศ เปนตนไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ นายชัยยง กฤตผลชัย เลขาธิการสํานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม มผช.๙๑๖/๒๕๕๔ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผลิตภัณฑทําความสะอาดเครื่องประดับเงิน และเครื่องประดับทอง ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะผลิตภัณฑทําความสะอาดเครื่องประดับเงินและ เครื่องประดับทองที่มีสารลดแรงตึงผิวประเภทแอนไอออนิกและนอนไอโอนิก ยกเวนโนนิลฟนอล เอทอกซีเลต มีลักษณะเปนของเหลว และบรรจุในภาชนะบรรจุ ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปน ี้ ๒.๑ ผลิตภัณฑทําความสะอาดเครื่องประดับเงินและเครื่องประดับทอง ซึ่งตอไปในมาตรฐานนี้จะเรียกวา “ผลิตภัณฑทาํ ความสะอาด” หมายถึง ผลิตภัณฑที่มีสารลดแรงตึงผิวประเภทแอนไอออนิก เชน โซเดียมแอลคลิ ซัลเฟต และนอนไอโอนิก เชน พอลิออกซีเอทิลีนโนนลิ ฟนอลอเี ทอร  หรือพอลิออกซิเอทิลีน แอลกอฮอลอีเทอร ยกเวนโนนิลฟนอล เอทอกซีเลต ประเภทใดประเภทหนึ่งหรือผสมกัน เปน สวนประกอบหลัก อาจผสมนา้ํ หมักชีวภาพจากพืช สารสกัดจากสมุนไพร เชน ประคําดีควาย มะนาว มะกรูด มะขาม ใชสําหรับทําความสะอาดเครื่องประดบั เงินและเครอื่ งประดับทองเพื่อขจัดคราบสกปรก และคราบดาํ ๓. สวนประกอบ ๓.๑ สวนประกอบหลัก เปนสารลดแรงตึงผิวประเภทแอนไอออนกิ หรือนอนไอออนิก ยกเวน โนนิลฟน อล เอทอกซเี ลต ประเภทใด ประเภทหนึ่งหรือผสมกัน ๓.๒ สารเติมแตง เชน สารเพิ่มประสิทธิภาพการชะลาง สารกันเสีย - ๑ - มผช.๙๑๖/๒๕๕๔ ๔. คุณลักษณะที่ตองการ ๔.๑ ลักษณะทั่วไป ตองเปนของเหลวใส เปนเนื้อเดียวกัน ไมตกตะกอน ไมมีสิ่งแปลกปลอมและไมมกี ลิ่นที่ไมพึงประสงค เชน กลิ่นฉุน การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๔.๒ ความเปนกรด-ดาง ตองอยูระหวาง ๕.๐ ถึง ๙.๕ การทดสอบใหปฏิบัตติ ามขอ ๙.๑ ๔.๓ การใชงาน เมื่อทดสอบตามขอ ๙.๒ แลว ตองสามารถขจัดสิ่งสกปรกหรือคราบดาํ ได  โดยไมทาํ ลายพนื้ ผวิ และน้ําหนัก ชิ้นทดสอบแผน เงินที่หายไปไมเกินรอยละ ๐.๐๑ ๔.๔ ความคงสภาพ เมื่อทดสอบตามขอ ๙.๓ แลว ลักษณะทวั่ ไปตองอยูในสภาพทดี่ ี ไมแ ปรสภาพ ๕. หลักเกณฑและขอปฏิบัติ ๕.๑ หลักเกณฑและขอปฏิบัตใิ นการทําผลติ ภณั ฑทําความสะอาด ใหเปน ไปตามภาคผนวก ก. ๖. การบรรจุ ๖.๑ ใหบรรจุผลิตภณั ฑทําความสะอาดในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม สะอาด ปดไดสนิท ไมรั่ว ไมแตก และ สามารถปองกันการปนเปอนจากสิ่งสกปรกภายนอกได การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๖.๒ ปริมาตรสุทธิของผลิตภัณฑทําความสะอาดในแตละภาชนะบรรจุตองไมนอยกวาที่ระบุไวที่ฉลาก การทดสอบใหใชเครื่องวัดปริมาตรที่เหมาะสม ๗. เครื่องหมายและฉลาก ๗.๑ ที่ภาชนะบรรจผุ ลิตภณั ฑทําความสะอาดทุกหนวย อยางนอ ยตองมีเลขอักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียด ตอไปนี้ใหเหน็ ไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อผลิตภัณฑ  (ตามชื่อ มผช.) หรือชื่ออื่นที่สื่อความหมายวาเปนผลิตภัณฑตามมาตรฐาน (๒) ชื่อและอัตราสว นของสารสําคัญ (๓) ปริมาตรสุทธิ เปนลูกบาศกเซนติเมตรหรือมิลลิลิตรหรือลิตร (๔) วัน เดือน ปทที่ ํา - ๒ - มผช.๙๑๖/๒๕๕๔ (๕) เลขที่แสดงครั้งที่ทําหรือรหัสรุนที่ทํา (๖) ประโยชน  (๗) วิธีใช  (๘) วิธีเก็บรักษา เชน เก็บในที่มดิ ชิด หา งจากมือเด็ก อาหาร และสัตวเลยี้ ง (๙) คําเตือน เชน หามรับประทาน ระวังอยาใหเ ขาตา (๑๐) วิธีแกพิษเบื้องตน เชน หากเขาตา ใหรีบลางดวยนา้ํ สะอาดจนอาการระคายเคืองทุเลา (๑๑) เครื่องหมายและขอความแสดงระดับความเปนพิษและ/หรืออันตราย ตามที่สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา กําหนด (๑๒) เลขที่รับแจงวัตถุอันตราย (๑๓) ชื่อผูทํา หรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีที่ใชภาษาตา งประเทศ ตองมคี วามหมายตรงกับภาษาไทยทกี่ ําหนดไวขางตน ๘. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๘.๑ รุน ในที่น ี้ หมายถึง ผลติ ภัณฑทําความสะอาด ที่มีสวนประกอบเดยี วกัน ที่ทําหรือสงมอบหรือซื้อขายใน ระยะเวลาเดียวกัน ๘.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปน ี้ ๘.๒.๑ การชักตัวอยา งและการยอมรับสําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป การบรรจุ และเครอื่ งหมายและฉลาก ใหชักตวั อยา งโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลวทุกตัวอยาง ตองเปนไปตามขอ ๔.๑ ขอ ๖. และขอ ๗. จึงจะถือวา ผลิตภัณฑทาํ ความสะอาดรนุ นั้นเปน ไปตาม เกณฑที่กําหนด ๘.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับสําหรับการทดสอบความเปนกรด-ดา ง และการใชงาน ใหใชตัวอยางที่ ผานการทดสอบตามขอ ๘.๒.๑ แลว จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เพื่อทําเปนตัวอยางรวม โดยมีปริมาตรรวมไมนอยกวา ๒๐๐ ลูกบาศกเซนติเมตร กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่ม โดยวิธีสุมจากรุนเดียวกันใหไ ดต ัวอยางที่มปี ริมาตรรวมตามที่กําหนด เมื่อตรวจสอบแลวทุกตัวอยาง ตองเปนไปตามขอ ๔.๒ และขอ ๔.๓ จึงจะถือวาผลิตภัณฑทาํ ความสะอาดรุนนั้นเปนไปตามเกณฑ ที่กําหนด ๘.๒.๓ การชักตัวอยางและการยอมรับสําหรับการทดสอบความคงสภาพ ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลวทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๔.๔ จึงจะถือวา ผลิตภณั ฑทําความสะอาดรนุ นั้นเปน ไปตามเกณฑที่กําหนด ๘.๓ เกณฑตัดสนิ ตัวอยางผลิตภัณฑทําความสะอาดตองเปนไปตามขอ ๘.๒.๑ ขอ ๘.๒.๒ และขอ ๘.๒.๓ ทุกขอ จึงจะถือวา ผลิตภัณฑทําความสะอาดรุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนน ี้ - ๓ - มผช.๙๑๖/๒๕๕๔ ๙. การทดสอบ ๙.๑ การทดสอบความเปนกรด-ดาง ๙.๑.๑ เครื่องมือ เครื่องวัดความเปนกรด-ดา ง (pH meter) ๙.๑.๒ วิธีทดสอบ เจือจางตัวอยางดวยนา้ํ กลั่นเปนสารละลาย รอยละ ๑ โดยนา้ํ หนัก วัดคาความเปนกรด-ดาง ที่ อุณหภูมิหอง ดวยเครื่องวัดความเปนกรด-ดาง ๙.๒ การทดสอบการใชงาน ๙.๒.๑ การเตรียมชิ้นทดสอบ แผนเงินแท  ทมี่ ีเงินไมนอยกวารอยละ ๙๒.๕ และมีขนาด (๓ x ๓) เซนติเมตร จํานวน ๒ แผน ๙.๒.๒ การเตรียมสารละลายโซเดียมไบซัลไฟต  (Na SO ) 2 3 ละลายโซเดียมไบซัลไฟต  (Na SO ) ๑.๐ กรัม ในนา้ํ กลนั่ ที่มีปริมาตร ๑๐๐ มิลลิลิตร 2 3 ๙.๒.๓ วิธีทดสอบ ๙.๒.๓.๑ วางชิ้นทดสอบแผนเงิน ลงบนภาชนะที่มีกนแบนเรียบ ใชดรอปเปอรดูดสารละลายโซเดียมไบซัลไฟต  (Na SO ) หยดลงบนแผนเงนิ จํานวน ๒ หยด ตั้งทิ้งไวเ ปนเวลา ๕ นาที หรือจนเกิดคราบดาํ 2 3 บนชิ้นทดสอบแผนเงิน ลางดวยน้ําแลวเช็ดใหแหง นาํ ไปชั่งน้ําหนักดว ยเครื่องชั่งที่เหมาะสมและ มีความละเอียดไมน อยกวา ๐.๐๐๑ กรัม คํานวณน้ําหนกั ชิ้นทดสอบแผนเงินที่หายไป ๙.๒.๓.๒ ทําความสะอาดชิ้นทดสอบแผนเงินที่มีคราบดําดวยตัวอยางผลิตภัณฑทําความสะอาดตามวิธีที่ ระบุไวที่ฉลาก หากที่ฉลากไมระบุใหเทตัวอยางผลิตภัณฑทําความสะอาดใหทวมชิ้นทดสอบแผนเงิน แชทิ้งไวที่อุณหภูมิหองเปนเวลา ๓๐ นาที ขัดเบาๆ ดวยแปรงสีฟนขนออน นําชิ้นทดสอบ แผนเงินออก ลางดวยน้ําและเช็ดใหแหงดวยผาสะอาด แลวตรวจพินิจ จากนั้นนําไปชั่งน้ําหนัก ดวยเครื่องชั่งที่เหมาะสมและมีความละเอียดไมนอยกวา ๐.๐๐๑ กรัม คํานวณน้ําหนักชิ้นทดสอบ แผนเงินที่หายไปเปนรอยละ ๐.๐๑ ๙.๓ การทดสอบความคงสภาพ เก็บตัวอยางผลิตภัณฑทาํ ความสะอาดที่ไมเคยเปดฝาภาชนะบรรจุมากอนที่อุณหภูมิ (๔ ๒) องศาเซลเซียส ± เปนเวลา ๒๔ ชั่วโมง แลวนําไปเก็บที่อณุ หภูมิ (๔๕ ๒) องศาเซลเซียส เปนเวลา ๒๔ ชั่วโมง ทําเชนนี้ ± สลับกันจนครบ ๔ ครั้ง นํามาวางไวใหเย็นที่อุณหภูมิหอง ตรวจสอบลักษณะทั่วไปเปรียบเทียบกับ สภาพเดิมของตัวอยางผลิตภัณฑ  - ๔ - มผช.๙๑๖/๒๕๕๔ ภาคผนวก ก. หลักเกณฑและขอปฏิบัติ (ขอ ๕.๑) ก.๑ ขอปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใชและอุปกรณการทํา ดังน ี้ ก.๑.๑ จัดใหมีเครื่องมืออุปกรณการทําที่เหมาะสมกับปริมาณและการทาํ แตละประเภท โดยเฉพาะภาชนะ หรือถังที่ใชในการทาํ จะตองไมเกดิ ปฏิกิริยาทางเคมีทไี่ มเหมาะสมกบั วตั ถุอนั ตราย และตอ งตรวจสอบ ดูแลรักษาใหอ ยูในสภาพเรียบรอยพรอมที่จะใชงานไดอ ยางมีประสิทธิภาพ ก.๑.๒ สถานที่ทํามีระบบปองกันกําจัดกลิ่น ละออง ไอระเหย ฝุนผงของวัตถุอันตรายที่ดีและเหมาะสม ณ บริเวณที่ทําและตองสามารถปองกันกลิ่นสารเคมีไมใหไปกระทบกระเทือนผูใกลเคียงและไมกอใหเกิด อันตรายตอบุคคลและทรัพยสิน ก.๑.๓ ตองมีวิธีการปอ งกันมิใหวัตถุอันตรายรั่วไหลในการทําในลักษณะที่จะเปนอันตรายตอ ผูปฏิบตั ิงาน ก.๑.๔ ตองทาํ ความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช และอุปกรณใ นการทําหลังจากการปฏิบัติงานเกี่ยวกับวตั ถุอนั ตราย แตละชนดิ เสร็จสิ้น เพื่อปอ งกันการปนเปอนหรือเกดิ ปฏิกิริยาทางเคมีทไี่ มเ หมาะสมเมื่อจะผลติ วัตถุ อื่นตอไป ก.๑.๕ ที่อุปกรณการทําในขณะปฏิบัติงาน ตองจัดใหมีปา ยแสดงชื่อวัตถุอนั ตราย และแผนปา ยคําเตือนถึง อันตรายที่เกิดจากวัตถุอันตราย โดยมีขอความและสัญลักษณตามที่สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กําหนด ก.๑.๖ ภายในอาคารทําวัตถุอันตราย ควรแบงแยกบริเวณพื้นที่ในการทําวัตถุอันตรายแตละประเภทเปนสัดสวน โดยใชเสนหรือเครื่องหมายแสดงพนื้ ที่ใหเห็นไดอ ยางชดั เจน เพื่อปองกันการปะปนของวัตถุอนั ตราย พื้นของสวนการทําวัตถุอนั ตรายตองมีคุณสมบัตไิ มดดู ซบั หรือกักขังสารเคมี ก.๑.๗ จัดใหมีแสงสวา งเพียงพอแกสภาพการทาํ งานในบริเวณทที่ ํา ก.๑.๘ ภาชนะบรรจุวตั ถุอนั ตรายตอ งมั่นคงแข็งแรง ไมรั่วไหล สะดวกตอการขนยาย ไมชํารดุ เสียหายแตกหัก หรือบบุ สลายไดงาย และไมม ีปฏิกิริยาทางเคมีทไี่ มเหมาะสมกบั วตั ถุอนั ตรายทบี่ รรจอุ ยูภายใน ก.๒ มาตรการเพื่อความปลอดภยั สําหรับผูปฏบิ ัติงานในสถานที่ทํา ดังน ี้ ก.๒.๑ บริเวณทางเขาอาคาร หรือสวนของอาคารที่เปนสถานที่ทําหรือเก็บรักษาวตั ถุอันตรายใหมีแผนปาย คําวา “วัตถุอันตราย” ดวยอักษรสีแดงบนพื้นสีขาว โดยแผนปา ยและตัวอักษรตองมีขนาดทเี่ หมาะสม และเห็นไดเดน ชัด ก.๒.๒ บริเวณที่เก็บรักษาและบริเวณใกลเคียง ตอ งจัดใหมีแผน ปายคาํ เตือนถึงอันตรายที่เกิดจากวตั ถุอันตราย โดยมีขอความและสัญลักษณตามที่สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยากําหนด ก.๒.๓ จัดใหมีอุปกรณตางๆ ที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน ดังน ี้ (๑) เสื้อผาชุดปฏบิ ัติงาน (๒) ถุงมือ รองเทา (๓) หนากากตามสภาพของวัตถุอันตราย (๔) สิ่งกันเปอนทกี่ ันอันตรายจากการที่วัตถุอนั ตรายจะสัมผัสกับรางกาย (๕) หมวกในกรณีที่ผลิตวัตถุอนั ตรายชนิดผง - ๕ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.