ebook img

TCPS 914-2554: LAUNDRY SOAP PDF

2011·0.58 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 914-2554: LAUNDRY SOAP

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 914-2554 (2011) (Thai): LAUNDRY SOAP มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน THAI COMMUNITY PRODUCT STANDARD มผช.๙๑๔/๒๕๕๔ สบูซักผา LAUNDRY SOAP สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 71.100.40 ISBN 978-616-231-216-8 มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน สบูซักผา มผช.๙๑๔/๒๕๕๔ สํานักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ ๖ กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท ๐–๒๒๐๒–๓๓๔๔-๕ ประกาศสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๑๖๙๕ (พ.ศ. ๒๕๕๔) เรื่อง ยกเลกิ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชน สบูซักผา โดยที่เปน การสมควรปรบั ปรุงมาตรฐานผลิตภณั ฑชุมชน สบูซักผา มาตรฐานเลขที่ มผช.๙๑๔/๒๕๔๘ และคณะอนุกรรมการพิจารณามาตรฐานผลิตภณั ฑชุมชน คณะที่ ๑ มีมติในการประชุมครั้งที่ ๒๒-๒/๒๕๕๔ เมื่อวันท ี่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ใหยกเลิกมาตรฐานผลิตภณั ฑชุมชน สบซู ักผา มาตรฐานเลขท ี่ มผช.๙๑๔/๒๕๔๘ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน สบูซักผา ขึ้นใหม สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมจึงออกประกาศยกเลิกประกาศสํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๙๓๓ (พ.ศ.๒๕๔๘) ลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และออกประกาศ กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน สบูซักผา มาตรฐานเลขที่ มผช.๙๑๔/๒๕๕๔ ขึ้นใหม ดังมีรายละเอียด ตอทายประกาศนี้ ทั้งนี้ ใหมีผลบังคับใชนับแตวันที่ประกาศ เปนตนไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ นายชัยยง กฤตผลชัย เลขาธิการสํานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม มผช.๙๑๔/๒๕๕๔ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน สบูซักผา ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลติ ภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะสบูทใี่ ชสําหรับซักผา ดวยมือและบรรจุในภาชนะบรรจุ ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปน ี้ ๒.๑ สบูซักผา หมายถึง ผลิตภัณฑที่เปนเกลือโซเดียมหรือเกลือโพแทสเซียมหรือเกลือแอมโมเนียมหรือ เกลือแอมีนของกรดไขมันของน้ํามันหรือไขมันจากพืชและ/หรือสัตว อาจผสมสารสรางเสริม สารกันเสีย สารสกัดจากสมุนไพร เชน มะกรูด มะนาว สม ใชสําหรับทําความสะอาดเสื้อผาหรือผลิตภัณฑสิ่งทออื่นๆ เพื่อขจัดรอยเปอนหรือสิ่งสกปรก ไมใชเปนสบูถูตัว ๒.๒ สารสรางเสริม หมายถึง สารที่เติมลงในสบูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทําความสะอาดของสบู เชน โซเดียมซิลิเกต โซเดียมฟอสเฟต และอนุพันธเซลลูโลส ๓. คุณลักษณะที่ตองการ ๓.๑ ลักษณะทั่วไป ตองเปนแทง กอน เกล็ด ใหฟองเมื่อละลายน้ํา ไมม ีสิ่งแปลกปลอมและไมมีกลิ่นที่ไมพึงประสงค เชน กลิ่นหืน กลิ่นอับ การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๓.๒ ไขมันทั้งหมด ตองไมนอยกวารอยละ ๔๕.๐ โดยน้ําหนัก การทดสอบใหปฏิบัตติ าม ISO 685 หรือวิธีทดสอบอนื่ ที่เทียบเทา ๓.๓ ไขมันที่ไมทาํ ปฏิกิริยากับดา ง ตองไมเกินรอยละ ๑.๐ โดยน้ําหนัก การทดสอบใหปฏิบัตติ าม ISO 1067 หรือวิธีทดสอบอื่นที่เทียบเทา ๓.๔ ไฮดรอกไซดอสิ ระ (คํานวณเปนโซเดียมไฮดรอกไซด  NaOH) ตองไมเกินรอยละ ๐.๒ โดยน้ําหนัก การทดสอบใหปฏิบัตติ าม ISO 465 หรือวิธีทดสอบอนื่ ที่เทียบเทา - ๑ - มผช.๙๑๔/๒๕๕๔ ๓.๕ สารที่ไมละลายในเอทานอล ตองไมเกินรอยละ ๒๐.๐ โดยน้ําหนัก การทดสอบใหปฏิบัตติ าม ISO 673 หรือวิธีทดสอบอนื่ ที่เทียบเทา ๔. หลักเกณฑและขอปฏิบัติ ๔.๑ หลักเกณฑและขอปฏิบัตใิ นการทําสบซู ักผา ใหเปนไปตามภาคผนวก ก. ๕. การบรรจุ ๕.๑ ใหบรรจุสบูซักผาในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม สะอาด ปดไดสนิท ไมรั่ว ไมแตก และสามารถปองกัน การปนเปอนจากสิ่งสกปรกภายนอกได การทดสอบใหทําโดยการตรวจพินิจ ๕.๒ น้ําหนักสุทธิของสบูซักผาในแตละภาชนะบรรจุ ตองไมน อยกวาที่ระบไุ วที่ฉลาก การทดสอบใหใชเครื่องชั่งที่เหมาะสม ๖. เครื่องหมายและฉลาก ๖.๑ ที่ภาชนะบรรจุสบูซักผาทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียดตอไปนี้ ใหเห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อผลิตภัณฑ  (ตามชื่อ มผช.) หรือชื่ออื่นที่สื่อความหมายวาเปนผลิตภัณฑตามมาตรฐาน (๒) ชื่อและอัตราสว นของสารสําคัญ (๓) น้ําหนักสุทธิ เปนกิโลกรัมหรือกรัม (๔) วัน เดือน ปทที่ ํา (๕) เลขที่แสดงครั้งที่ทําหรือรหัสรุนที่ทํา (๖) ประโยชน  (๗) วิธีใช  (๘) วิธีเก็บรักษา เชน เก็บในที่มดิ ชิด หา งจากมือเด็ก อาหาร และสัตวเลยี้ ง (๙) คําเตือน (๑๐) วิธีแกพิษเบื้องตน เชน หากเขาตา ใหรีบลางดวยนา้ํ สะอาดจนอาการระคายเคืองทุเลา (๑๑) เครื่องหมายและขอความแสดงระดับความเปนพิษและ/หรืออันตราย ตามที่สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา กําหนด (๑๒) เลขที่รับแจงวัตถุอันตราย (๑๓) ชื่อผูทํา หรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีที่ใชภาษาตา งประเทศ ตองมคี วามหมายตรงกับภาษาไทยทกี่ ําหนดไวขางตน - ๒ - มผช.๙๑๔/๒๕๕๔ ๗. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๗.๑ รุน ในทนี่ ี้ หมายถึง สบูซักผา ที่มีสวนประกอบเดียวกัน ที่ทําหรือสงมอบหรือซื้อขายในระยะเวลาเดียวกัน ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปน ี้ ๗.๒.๑ การชักตัวอยางและการยอมรับสําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป การบรรจุ และเครื่องหมายและฉลาก ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๕ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลวทุกตัวอยาง ตองเปนไปตามขอ ๓.๑ ขอ ๕. และขอ ๖. จึงจะถือวาสบซู ักผารุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับสําหรับการทดสอบไขมันทั้งหมด ไขมันที่ไมทําปฏิกิริยากับดาง ไฮดรอกไซดอสิ ระ และสารทไี่ มละลายในเอทานอล ใหใชต ัวอยางที่ผานการทดสอบตามขอ ๗.๒.๑ แลว จํานวน ๕ หนวยภาชนะบรรจุ เพื่อทําเปนตัวอยางรวม โดยมีนา้ํ หนักรวมไมนอ ยกวา ๓๐๐ กรัม กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยใชวิธีสุมจากรุนเดียวกันใหไดตัวอยางที่มีน้ําหนักรวมตามที่กําหนด เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๒ ถึงขอ ๓.๕ จึงจะถือวาสบูซักผารุนน้ัน เปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๓ เกณฑตัดสนิ ตัวอยางสบูซักผาตองเปน ไปตามขอ ๗.๒.๑ และขอ ๗.๒.๒ ทุกขอ จึงจะถือวาสบูซกั ผารุนนนั้ เปน ไปตาม มาตรฐานผลติ ภัณฑชุมชนนี้ - ๓ - มผช.๙๑๔/๒๕๕๔ ภาคผนวก ก. หลักเกณฑและขอปฏิบัติ (ขอ ๔.๑) ก.๑ ขอปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใชและอุปกรณการทํา ดังน ี้ ก.๑.๑ จัดใหมีเครื่องมืออุปกรณการทําที่เหมาะสมกับปริมาณและการทาํ แตละประเภท โดยเฉพาะภาชนะ หรือถังที่ใชในการทาํ จะตองไมเกดิ ปฏิกิริยาทางเคมีทไี่ มเหมาะสมกบั วตั ถุอนั ตราย และตอ งตรวจสอบ ดูแลรักษาใหอ ยูในสภาพเรียบรอยพรอมที่จะใชงานไดอ ยางมีประสิทธิภาพ ก.๑.๒ สถานที่ทํามีระบบปองกันกําจัดกลิ่น ละออง ไอระเหย ฝุนผงของวัตถุอันตรายที่ดีและเหมาะสม ณ บริเวณที่ทําและตองสามารถปองกันกลิ่นสารเคมีไมใหไปกระทบกระเทือนผูใกลเคียงและไมกอใหเกิด อันตรายตอบุคคลและทรัพยสิน ก.๑.๓ ตองมีวิธีการปอ งกันมิใหวัตถุอันตรายรั่วไหลในการทําในลักษณะที่จะเปนอันตรายตอ ผูปฏิบตั ิงาน ก.๑.๔ ตองทาํ ความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช และอุปกรณใ นการทําหลังจากการปฏิบัติงานเกี่ยวกับวตั ถุอนั ตราย แตละชนดิ เสร็จสิ้น เพื่อปอ งกันการปนเปอนหรือเกดิ ปฏิกิริยาทางเคมีทไี่ มเ หมาะสมเมื่อจะผลติ วัตถุ อื่นตอไป ก.๑.๕ ที่อุปกรณการทําในขณะปฏิบัติงาน ตองจัดใหมีปา ยแสดงชื่อวัตถุอนั ตราย และแผนปา ยคําเตือนถึง อันตรายที่เกิดจากวัตถุอันตราย โดยมีขอความและสัญลักษณตามที่สํานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กําหนด ก.๑.๖ ภายในอาคารทําวัตถุอันตราย ควรแบงแยกบริเวณพื้นที่ในการทําวัตถุอันตรายแตละประเภทเปนสัดสวน โดยใชเสนหรือเครื่องหมายแสดงพนื้ ที่ใหเห็นไดอ ยางชดั เจน เพื่อปองกันการปะปนของวัตถุอนั ตราย พื้นของสวนการทําวัตถุอนั ตรายตองมีคุณสมบัตไิ มดดู ซบั หรือกักขังสารเคมี ก.๑.๗ จัดใหมีแสงสวา งเพียงพอแกสภาพการทาํ งานในบริเวณทที่ ํา ก.๑.๘ ภาชนะบรรจุวตั ถุอนั ตรายตอ งมั่นคงแข็งแรง ไมรั่วไหล สะดวกตอการขนยาย ไมชํารดุ เสียหายแตกหัก หรือบบุ สลายไดงาย และไมม ีปฏิกิริยาทางเคมีทไี่ มเหมาะสมกบั วตั ถุอนั ตรายทบี่ รรจอุ ยูภายใน ก.๒ มาตรการเพื่อความปลอดภยั สําหรับผูปฏบิ ัติงานในสถานที่ทํา ดังน ี้ ก.๒.๑ บริเวณทางเขาอาคาร หรือสวนของอาคารที่เปนสถานที่ทําหรือเก็บรักษาวตั ถุอันตรายใหมีแผนปาย คําวา “วัตถุอันตราย” ดวยอักษรสีแดงบนพื้นสีขาว โดยแผนปา ยและตัวอักษรตองมีขนาดทเี่ หมาะสม และเห็นไดเดน ชัด ก.๒.๒ บริเวณที่เก็บรักษาและบริเวณใกลเคียง ตอ งจัดใหมีแผน ปายคาํ เตือนถึงอันตรายที่เกิดจากวตั ถุอันตราย โดยมีขอความและสัญลักษณตามที่สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยากําหนด ก.๒.๓ จัดใหมีอุปกรณตางๆ ที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน ดังน ี้ (๑) เสื้อผาชุดปฏบิ ัติงาน (๒) ถุงมือ รองเทา (๓) หนากากตามสภาพของวัตถุอันตราย (๔) สิ่งกันเปอนทกี่ ันอันตรายจากการที่วัตถุอนั ตรายจะสัมผัสกับรางกาย (๕) หมวกในกรณีที่ผลิตวัตถุอนั ตรายชนิดผง - ๔ - มผช.๙๑๔/๒๕๕๔ (๖) แวนตาตามความจําเปน เชน มีการฟุงกระจายของไอฝุนผง ก.๒.๔ จัดทําแผนปาย “หามสูบบหุ รี่ รับประทานอาหารหรือเก็บอาหาร” ในบริเวณที่ปฏบิ ัติงาน ก.๒.๕ กรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงานหรือเม่ือมีวัตถุอันตรายรั่วไหลหรือฟุงกระจาย ผูทําหรือผูควบคุม การปฏิบัติงาน ตองใหผปู ฏิบัติงานทุกคนที่ทํางานในบริเวณนั้นหรอื บริเวณใกลเคียงหยุดทํางานและ ออกไปใหพน รัศมีที่อาจไดรบั อันตราย และดําเนินการใหผูที่เกี่ยวของตรวจสอบโดยมิชักชา ก.๒.๖ อบรมชี้แจงแนะนําผูปฏิบตั งิ านใหเขาใจถึงอันตรายอันอาจเกิดขึ้นไดในขณะปฏิบัติงาน วิธีระมัดระวัง ปองกันอันตรายและการแกไข ก.๒.๗ จัดใหมีการตรวจสอบสุขภาพของผูปฏิบัติงานอยางนอยปละ ๑ ครั้ง เพื่อปองกันอันตรายจาก การมีวัตถุอันตรายสะสมอยูในรางกาย และถาการปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุอันตรายที่มีสารประกอบ ออรกาโนฟอสเฟตหรือสารคารบาเมต ตอ งตรวจวิเคราะหหาระดบั ซีรมั โคลีนเอสเตอเรสดวย ก.๒.๘ จัดใหมีสถานที่สําหรับใหผปู ฏิบัติงานลางมือ ลางหนา ดวยน้ําและสบูกอนรับประทานอาหาร ดื่มน้ํา หรือสูบบุหรี่ ก.๒.๙ สถานที่รบั ประทานอาหาร ดมื่ น้ํา หรือสูบบุหรี่ ที่จัดใหแ กผูปฏบิ ัติงานตอ งแยกเปน สัดสวนตา งหาก จากสถานปฏบิ ัติงาน ก.๓ จัดใหมบี ันทึกการทําวัตถุอนั ตรายแตละครงั้ ของการทํา โดยแสดงปริมาณการผลิต วัน เดือน ปที่ทํา ลายมือชื่อของผูควบคุมในการทําและพรอมที่จะใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบได ทั้งนี้ใหเปนไปตามแบบ ที่กําหนดสาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ก.๔ ใหผูทําวตั ถุอนั ตราย จัดใหม ีการตรวจสอบ (๑) การตรวจสอบภาชนะบรรจุทั้งกอนและหลังจากที่บรรจุวัตถุอันตรายแลวใหอยูในสภาพที่เรียบรอย ตามขอ ก.๑.๘ (๒) การตรวจสอบฉลากที่จะปดบนภาชนะบรรจุวัตถุอันตรายใหถูกตองตรงตามประเภทของวัตถุอันตราย ที่ทํา เพื่อมิใหปดฉลากผิด และใหจัดทําบันทึกลงรายการผลการตรวจสอบไวในบันทึกตาม ขอ ก.๓ ไวดวย ก.๕ ใหผูทําวัตถุอันตราย จัดใหมีฉลากขนาดใหญพอสมควรไวที่หีบหอสําหรับการขนสง โดยมีขอความระบุ ชื่อสามัญของวัตถุอันตราย ปริมาณสารสําคัญหรืออัตราสวนของสารสําคัญ สัญลักษณแสดงอนั ตรายของ วัตถุอันตราย และคําเตือน เชน หามโยน หามใชขอสับ เครื่องหมายและตัวอักษรดังกลาวตองเห็นเดนชัด - ๕ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.