ebook img

TCPS 840-2548: THAI CLASSICAL COSTUME FOR LADIES PDF

2005·0.72 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 840-2548: THAI CLASSICAL COSTUME FOR LADIES

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 840-2548 (2005) (Thai): THAI CLASSICAL COSTUME FOR LADIES มผช.๘๔๐/๒๕๔๘ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ชุดสตรีไทยพระราชนิยม ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลติ ภณั ฑช มุ ชนนคี้ รอบคลมุ ชดุ สตรไี ทยพระราชนยิ มเพอื่ การสวมใสข องสตรที ตี่ ดั เยบ็ ดว ยผา ไหม ผาฝาย และผาใยประดิษฐ ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้มีดังตอไปนี้ ๒.๑ ชดุ สตรไี ทยพระราชนยิ ม หมายถงึ ชดุ แตง กายประจาํ ชาตขิ องสตรไี ทย สวมใสใ นงานพธิ หี รอื งานพระราชพธิ ี ตา งๆ เชน งานพธิ หี มนั้ งานพธิ มี งคลสมรส เปน ชดุ ทมี่ เี อกลกั ษณเ ฉพาะ มหี ลายรปู แบบ ตดั เยบ็ ดว ยผา ไหม ผาฝาย ผาใยประดิษฐ อาจเปนผาพื้น ผาลายดอก ผาลายริ้ว ผายกดิ้นเงินดิ้นทอง หรือผายกดอกเต็มตัว ใชว สั ดเุ กาะเกยี่ วทเี่ หมาะสม เชน ซปิ ตะขอ กระดมุ ทหี่ อ หมุ จากผา ตวั เสอื้ อาจตกแตง ใหส วยงามดว ยการ ปก มกุ เลอื่ ม ลกู ปด พลอย ๒.๒ ผาไหม หมายถึง ผาทอจากเสนดายที่ไดจากใยของตัวไหม ๒.๓ ผาฝาย หมายถึง ผาทอจากเสนดายที่ไดจากใยของฝาย ๒.๔ ผาใยประดิษฐ หมายถึง ผาที่ไดจากการสังเคราะห เชน ผาพอลิเอสเทอร ผาเรยอน ผาเจอรซี่ ผาโทเร ๓. แบบ ๓.๑ ชุดสตรีไทยพระราชนิยม แบงออกเปน ๘ แบบ คือ ๓.๑.๑ ชุดไทยเรือนตน ๓.๑.๒ ชุดไทยจิตรลดา ๓.๑.๓ ชุดไทยอมรินทร ๓.๑.๔ ชุดไทยบรมพิมาน ๓.๑.๕ ชุดไทยดุสิต ๓.๑.๖ ชุดไทยจักรี ๓.๑.๗ ชุดไทยศิวาลัย ๓.๑.๘ ชุดไทยจักรพรรดิ์ - ๑ - มผช.๘๔๐/๒๕๔๘ ๔. คุณลักษณะที่ตองการ ๔.๑ ลักษณะทั่วไป ตองอยูในสภาพที่เรียบรอยตลอดทั้งชิ้นงาน ประณีต สวยงาม และไมปรากฏขอบกพรองใหเห็นชัดเจน เชน ผา เปน รหู รอื ขาด ตะเขบ็ มรี อยแยกหรอื ขาด มปี ลายเสน ดา ยโผลอ อกมา สว นขอ บกพรอ งอนื่ ๆ อนั เกิด จากกรรมวธิ กี ารทาํ ดว ยมอื ตอ งมนี อ ยทสี่ ดุ และเปน ทยี่ อมรบั ได  ในกรณผี า อดั กาวตอ งแนบสนทิ เปน เนอื้ เดยี ว กับผาตัวนอก หากไมใชผาอัดกาวตองมีผาซับใน ๔.๒ เอกลักษณ ตอ งมลี กั ษณะเฉพาะของชดุ สตรไี ทยพระราชนยิ มรปู แบบตา งๆ ดงั น ี้ (ภาพตวั อยา งแสดงตามภาคผนวก ก) ๔.๒.๑ ชุดไทยเรือนตน คือ ชุดไทยแบบลําลอง มีลายขวางสลับสีเปนริ้วตามขวาง ตัดเปนซิ่นปายหนายาว ถึงขอเทา สวมเปนชุดกับเสื้อผาพื้น ตวั เสอื้ เขา รปู คอกลม แขนสามสว นหรอื ความยาวแขนไดร ะดบั เดยี วกนั กบั ชายเสอื้ ผา หนา ติดกระดุม ๕ เม็ด อาจตัดผาซิ่นดวยผาพื้น สวมเปนชุดกับเสื้อที่ตัดดวย ผาลายก็ได ๔.๒.๒ ชดุ ไทยจติ รลดา คอื ชดุ ไทยในพธิ กี ลางวนั มเี ชงิ หรอื ลายขวางสลบั ส ี ตดั เปน ซนิ่ ปา ยหนา ยาวถงึ ขอ เทา สวมเปน ชดุ กบั เสอื้ เขา รปู ปกคอตงั้ ชดิ คอ (คอจนี ) ผา หนา ตดิ กระดมุ ๕ เมด็ แขนยาว ๔.๒.๓ ชดุ ไทยอมรนิ ทร  คอื ชดุ ไทยสาํ หรบั งานพธิ ตี อนคา่ํ ตวั เสอื้ เขา รปู ปกคอตงั้ ชดิ คอ (คอจนี ) ผา หนา ตดิ กระดมุ ๕ เมด็ แขนยาว สวมเปน ชดุ กบั ซนิ่ ปา ยหนา ตดั ดว ยผา ไหมยกดนิ้ เงนิ ดนิ้ ทอง หรอื ยกดอก เตม็ ตวั ๔.๒.๔ ชดุ ไทยบรมพมิ าน คอื ชดุ ไทยสาํ หรบั งานพธิ ตี อนคา่ํ ตวั เสอื้ เขา รปู ปกคอตงั้ ชดิ คอ (คอจนี ) ดา นหนา ไมม กี ระดมุ แตต ดิ ซปิ ทกี่ ลางตวั ดา นหลงั แขนยาว ตดั ดว ยผา พนื้ สวมเปน ชดุ กบั ซนิ่ จบี หนา นาง มชี าย พก ตดั ดว ยผา ไหมยกดนิ้ เงนิ ดนิ้ ทอง หรอื ยกดว ยเสน ดา ยสลบั ส ี มเี ขม็ ขดั คาดทบั ไวด า นนอก อาจตดั เปน เสอื้ ชดุ ตดิ กนั กไ็ ด ๔.๒.๕ ชุดไทยดุสิต คือ เสื้อชุดสําหรับงานราตรี ตัวเสื้อเขารูป คอกลมกวางมาก ไมมีแขนตัดดวยผาพื้น ปก ลายตกแตงตัวเสื้อดวยเลื่อม ลูกปด มุก พลอย สวมเปนชุดกับซิ่นจีบหนานางมีชายพก ตัดดวย ผายกดิ้นเงิน ดิ้นทอง หรือยกดอกเต็มตัว มีเข็มขัดคาดทับไวดานนอก ๔.๒.๖ ชุดไทยจักรี คือ ชุดไทยสําหรับงานราตรีสโมสรหรือชุดกลางคืน ตัวเสื้อเขารูป เปดไหลขางหนึ่ง มี สไบเฉยี งอยใู นเสน ตะเขบ็ ขา งของเสอื้ ดา นขวา หม ทงิ้ ชายไปทางดา นหลงั ของไหลซ า ยหรอื อาจใชส ไบ หม โอบรอบตวั ไปทงิ้ ชายไวด า นหลงั สวมเปน ชดุ กบั ซนิ่ จบี หนา นาง มชี ายพก ตดั ดว ยผายกดิ้นทอง หรือยกดอกเต็มตัว มีเข็มขัดคาดทับไวดานนอก ๔.๒.๗ ชดุ ไทยศวิ าลยั คอื ชดุ ไทยสาํ หรบั งานพธิ ี ตวั เสอื้ เขา รปู คอปกตงั้ ชดิ คอ (คอจนี ) ตดิ ซปิ ดา นหลงั แขนยาว ตดั ดว ยผา พนื้ สวมเปน ชดุ กบั ซนิ่ จบี หนา นาง มชี ายพก ตดั ดว ยผา ไหมยกดนิ้ ทอง หรอื ยกดอกเตม็ ตวั มี เข็มขัดคาดทับไวดานนอก และมีสไบโอบทับเสื้อรอบตัว ทิ้งชายสไบไปทางดานหลังยาวถึงชายซิ่น - ๒ - มผช.๘๔๐/๒๕๔๘ ๔.๒.๘ ชดุ ไทยจกั รพรรด ิ์ คอื ชดุ ไทยสาํ หรบั งานพระราชพธิ ี ตวั เสอื้ ตดั เปน เสอื้ รดั รปู ทรง (เกาะอก) อยชู นั้ ใน มสี ไบจบั จบี (อดั พลที ) หม ทบั อยชู นั้ นอก สวมเปน ชดุ กบั ซนิ่ จบี หนา นาง มชี ายพกตดั ดว ยผา ยกดนิ้ ทอง หรอื ยกดอกเตม็ ตวั มเีขม็ ขดั คาดทบั ไวด า นนอก และมสี ไบเนอื้ หนาปก ลายไทยหม ทบั สไบจบี ทงิ้ ชายสไบ หอ ยไวท เี่อวดา นหนา ซา ย แลว โอบใตแ ขนดา นขวา ทงิ้ ชายสไบไปทางดา นหลงั ซา ยยาวถงึ ขอ เทา ๔.๓ รูปทรงและสัดสวน ตองไมบิดเบี้ยว เกรนผาถูกตอง สมสวน ไมยน ตึง รั้ง กรณีเสื้อมีสาบเกยตองไมนอยกวา ๒ เซนติเมตร ๔.๔ การเย็บและตะเข็บ ๔.๔.๑ สีของเสนดาย ตองใชสีเดียวกันกับสีของผาหรือใชสีใหกลมกลืนมากที่สุดและเปนที่ยอมรับได ขนาดของเสนดาย ตองเหมาะสมกับเนื้อผา ๔.๔.๒ ฝจักรหรือฝเข็ม ตองไมหางหรือถี่เกินไป หรือขามกระโดด ๔.๔.๓ ริมตะเข็บดานในตัวเสื้อ ตองไมหลุดลุย ๔.๔.๔ การสอย ตองประณีต ไมปรากฏเสนดายบนผาดานถูกอยางชัดเจน ๔.๔.๕ การเผื่อตะเข็บชายเสื้อและชายกระโปรง ตองไมนอยกวา ๓ เซนติเมตร ๔.๕ การซับใน (ถามี) ผา ซบั ในตอ งสเี ดยี วกนั หรอื กลมกลนื กนั กบั ผา ตวั นอก และไมป รากฏการตงึ รงั้ ทที่ าํ ใหเ สอื้ ตวั นอกเสยี รปู ทรง ๔.๖ วัสดุเกาะเกี่ยว (ถามี) ตองอยูในสภาพที่ดี แข็งแรง ทนทาน กรณีเปนโลหะตองไมเปนสนิม ๔.๗ การตกแตงดวยวัสดุอื่น (ถามี) ตองประณีต สวยงาม แข็งแรง ติดแนน คงทน และเหมาะสมกับชิ้นงาน เมื่อตรวจสอบตามขอ ๘.๑ แลว ผลการตรวจสอบของผูตรวจแตละคนตองไมมีลักษณะใดลักษณะหนึ่งไมผาน ๔.๘ ขนาด ตองเปนไปตามที่ระบุไวที่ฉลาก โดยมีเกณฑความคลาดเคลื่อนไดไมเกิน ๑ นิ้วหรือ ๒.๕ เซนติเมตร ± ± ๔.๙ การใชงาน ตองสามารถสวมใสไดอยางเหมาะสม ๕. การบรรจุ ๕.๑ หากมกี ารบรรจ ุ ใหบ รรจชุ ดุ สตรไี ทยพระราชนยิ มในภาชนะบรรจทุ สี่ ะอาด แหง เรยี บรอ ย และสามารถปอ งกนั ความเสยี หายที่อาจเกิดขึ้นกับชุดไทยได - ๓ - มผช.๘๔๐/๒๕๔๘ ๖. เครื่องหมายและฉลาก ๖.๑ ทฉี่ ลากหรอื ภาชนะบรรจชุ ดุ สตรไี ทยพระราชนยิ มทกุ หนว ย อยา งนอ ยตอ งมเี ลข อกั ษร หรอื เครอื่ งหมาย แจง รายละเอยี ดตอไปนี้ใหเห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อเรียกผลิตภัณฑ เชน ชุดไทยเรือนตน ชุดไทยจิตรลดา (๒) ชนิดของผา (๓) ขนาด (๔) เดือน ปที่ทํา (๕) ขอแนะนําในการดูแลรักษา (๖) ชื่อผูทําหรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กําหนดไวขางตน ๗. การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน ๗.๑ รุน ในที่นี้ หมายถึง ชุดสตรีไทยพระราชนิยมประเภทเดียวกัน ที่ทําหรือสงมอบหรือซื้อขายในระยะเวลา เดียวกัน ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๗.๒.๑ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบขนาด การใชง าน การบรรจ ุ และเครอื่ งหมายและ ฉลาก ใหช กั ตวั อยา งโดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี วกนั จาํ นวน ๒ ตวั อยา ง เมอื่ ตรวจสอบแลว ทกุ ตวั อยา งตอ ง เปน ไปตามขอ ๔.๘ ขอ ๔.๙ ขอ ๕. และขอ ๖. จึงจะถือวาชุดสตรีไทยพระราชนิยมนั้นเปนไปตาม เกณฑที่กําหนด ๗.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป เอกลักษณ รูปทรงและสัดสวน การเย็บและตะเข็บ การซับใน วัสดุเกาะเกี่ยว และการตกแตงดวยวัสดุอื่น ใหช กั ตวั อยา งทผี่ า นการ ทดสอบตามขอ ๗.๒.๑ แลว จาํ นวน ๒ ตวั อยา ง เมอื่ ตรวจสอบแลว ทกุ ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๔.๑ ถึงขอ ๔.๗ จึงจะถือวาชุดสตรีไทยพระราชนิยมรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๓ เกณฑตัดสิน ตัวอยางชุดสตรีไทยพระราชนิยมตองเปนไปตามขอ ๗.๒.๑ และขอ ๗.๒.๒ ทุกขอ จึงถือวาชุดสตรีไทย พระราชนิยมรุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ - ๔ - มผช.๘๔๐/๒๕๔๘ ๘. การทดสอบ ๘.๑ การทดสอบลักษณะทั่วไป เอกลักษณ รูปทรงและสัดสวน การเย็บและตะเข็บ การซับใน วัสดุเกาะเกี่ยว และการตกแตงดวยวัสดุอื่น ใหแ ตง ตงั้ คณะผตู รวจสอบ ประกอบดว ยผทู มี่ คี วามชาํ นาญในการตรวจสอบชดุ สตรไี ทยพระราชนยิ มอยา งนอ ย ๓ คน แตล ะคนแยกกนั ตรวจโดยอสิ ระ ผลการตรวจสอบของแตล ะลกั ษณะใหต ดั สนิ วา ผา นหรอื ไมผ า นเทา นนั้ ๘.๒ การทดสอบการใชงาน ใหทดสอบโดยการสวมใสกับหุนลองตัว ๘.๓ การทดสอบขนาด ใหใชเครื่องวัดที่เหมาะสม ๘.๔ การทดสอบการบรรจุและเครื่องหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ - ๕ - มผช.๘๔๐/๒๕๔๘ ภาคผนวก ก เอกลักษณ (ขอ ๔.๒) - ๖ - มผช.๘๔๐/๒๕๔๘ - ๗ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.