ebook img

TCPS 638-2547: MODEL OF METAL SCLUPTURE PDF

2004·0.47 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 638-2547: MODEL OF METAL SCLUPTURE

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 638-2547 (2004) (Thai): MODEL OF METAL SCLUPTURE มผช.๖๓๘/๒๕๔๗ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผลิตภัณฑโลหะจาํ ลอง ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะผลิตภัณฑโลหะที่เปนรูปจําลอง ทําดวยมือ อาจใชเครื่องมือ เปนอุปกรณชวยในบางขั้นตอนการทํา ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปนี้ ๒.๑ ผลิตภัณฑโลหะจําลอง หมายถึง ผลิตภัณฑที่ไดจากการขึ้นรูปโดยผานกรรมวิธีการหลอโลหะในแบบพิมพ ที่เปนรูปจําลองตางๆ เชน คน สัตว สิ่งของ อาจประกอบดวยวัสดุอื่น อาจแตงสี และอาจเคลือบดวย สารเคลือบเงา ขัดเงา หรือรมดํา ทําเปนของใชทั่วไป ของประดับตกแตง ๓. คุณลักษณะที่ตองการ ๓.๑ ลักษณะทั่วไป ตองประณีต สวยงาม มีรูปแบบรูปทรงที่ไดสัดสวน (ยกเวนกรณีเปนลักษณะเฉพาะของชิ้นงาน) ไมมีรอยตําหนิจากการหลอปรากฏใหเห็นเดนชัด ๓.๒ สี (ถามี) ตอ งสมา่ํ เสมอ (ยกเวน กรณใี ชเ ทคนคิ ไลร ะดบั ส)ี ไมห ลดุ หรอื ลอก และเมอื่ ลบู ผลติ ภณั ฑแ ลว สตี อ งไมต ดิ มอื ๓.๓ การประกอบดวยวัสดุอื่น (ถามี) ตองประณีต ติดแนน คงทน บริเวณรอยตอตองเรียบรอย และไมมีรอยเปรอะเปอนของสารที่ใชยึด ติดชิ้นสวนเขาดวยกัน ๓.๔ การเคลือบเงาหรือการขัดเงา (ถามี) ตองเรียบ สม่ําเสมอ ไมเปนเม็ด เปนคราบ กรอบ แตก หลุด หรือลอก และไมหนาเกินไปจนทําใหชิ้นงาน ขาดความสวยงาม เมื่อตรวจสอบโดยวิธีใหคะแนนตามขอ ๗.๑ แลว ตองไดคะแนนเฉลี่ยของแตละลักษณะจากผูตรวจสอบทุกคน ไมนอยกวา ๓ คะแนน และไมมีลักษณะใดได ๑ คะแนน จากผูตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง - ๑ - มผช.๖๓๘/๒๕๔๗ ๓.๕ การใชงาน ตองสามารถใชงานไดตามวัตถุประสงคของการใชงาน ๔. การบรรจุ ๔.๑ หากมกี ารบรรจ ุ ใหบ รรจผุ ลติ ภณั ฑโ ลหะจาํ ลองในภาชนะบรรจทุ สี่ ะอาด แหง เรยี บรอ ย และสามารถปอ งกนั ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับผลิตภัณฑโลหะจําลองได ๕. เครื่องหมายและฉลาก ๕.๑ ที่ฉลากหรือภาชนะบรรจุผลิตภัณฑโลหะจําลองทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจง รายละเอียดตอไปนี้ใหเห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชอื่ เรยี กผลติ ภณั ฑ  เชน ผลติ ภณั ฑโ ลหะจาํ ลองเดก็ ขมี่ า กา นกลว ย ประตมิ ากรรมโลหะจาํ ลองรชั กาลท ี่ 5 (๒) ขนาดหรือมิติ (๓) เดือน ปที่ทํา (๔) ขอแนะนําในการใชและการดูแลรักษา (๕) ชื่อผูทํา หรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณีที่ใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กําหนดไวขางตน ๖. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๖.๑ รุน ในที่นี้ หมายถึง ผลิตภัณฑโลหะจําลองที่ทําหรือสงมอบหรือซื้อขายในระยะเวลาเดียวกัน ๖.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๖.๒.๑ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบการใชงาน การบรรจุ และเครื่องหมายและฉลาก ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๕ ตัวอยาง เมื่อตรวจสอบแลวทุกตัวอยางตองเปน ไปตามขอ ๓.๕ ขอ ๔. และขอ ๕. จงึ จะถอื วา ผลติ ภณั ฑโ ลหะจาํ ลองรนุ นนั้ เปน ไปตามเกณฑท กี่ าํ หนด ๖.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป สี การประกอบดวยวัสดุอื่น และ การเคลอื บเงาหรอื การขดั เงา ใหใ ชต วั อยา งทผี่ า นการทดสอบตามขอ ๖.๒.๑ แลว จาํ นวน ๕ ตวั อยา ง เมอื่ ตรวจสอบแลว ทกุ ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๑ ถงึ ขอ ๓.๔ จงึ จะถอื วา ผลติ ภณั ฑโ ลหะจาํ ลอง รุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๖.๓ เกณฑตัดสิน ตัวอยางผลิตภัณฑโลหะจําลองตองเปนไปตามขอ ๖.๒.๑ และขอ ๖.๒.๒ ทุกขอ จึงจะถือวาผลิตภัณฑ โลหะจําลองรุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ - ๒ - มผช.๖๓๘/๒๕๔๗ ๗. การทดสอบ ๗.๑ การทดสอบลักษณะทั่วไป สี การประกอบดวยวัสดุอื่น และการเคลือบเงาหรือการขัดเงา ๗.๑.๑ ใหแตงตั้งคณะผูตรวจสอบ ประกอบดวยผูที่มีความชํานาญในการตรวจสอบผลิตภัณฑโลหะจําลอง อยา งนอ ย ๕ คน แตละคนจะแยกกันตรวจและใหคะแนนโดยอิสระ ๗.๑.๒ หลักเกณฑการใหคะแนน ใหเปนไปตามตารางที่ ๑ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑการใหคะแนน (ขอ ๗.๑.๒) ระดับการตัดสิน (คะแนน) ลักษณะที่ตรวจสอบ เกณฑที่กําหนด ดีมาก ดี พอใช ตองปรับปรุง ลักษณะทั่วไป ตอ งประณตี สวยงาม มรี ปู แบบรปู ทรงทไี่ ด ๔ ๓ ๒ ๑ สดั สว น (ยกเวน กรณที เี่ ปน ลกั ษณะเฉพาะ ของชิ้นงาน) ไมมีรอยตาํ หนจิ ากการหลอ ปรากฏใหเหน็ เดน ชดั สี (ถามี) ตองสมา่ํ เสมอ (ยกเวนกรณีใชเทคนิคไล ๔ ๓ ๒ ๑ ระดับสี) ไมหลุดหรือลอก และเมื่อลูบ ผลติ ภณั ฑแ ลว สตี อ งไมต ดิ มอื การประกอบ ตอ งประณตี ตดิ แนน คงทน บรเิ วณรอย ๔ ๓ ๒ ๑ ดวยวัสดุอื่น (ถามี) ตอ ตอ งเรยี บรอ ย และไมม รี อยเปรอะเปอ น ของสารทใี่ ชย ดึ ตดิ ชนิ้ สว นเขา ดว ยกนั การเคลือบเงาหรือ ตอ งเรยี บ สมา่ํ เสมอ ไมเ ปน เมด็ เปน คราบ ๔ ๓ ๒ ๑ การขัดเงา (ถามี) กรอบ แตก หลดุ หรอื ลอก และไมห นา เกนิ ไปจนทาํ ใหช นิ้ งาน ขาดความสวยงาม ๗.๒ การทดสอบการใชงาน การบรรจุ และเครื่องหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ - ๓ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.