ebook img

TCPS 1382-2550: Narrow Nuts PDF

2007·0.53 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 1382-2550: Narrow Nuts

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 1382-2550 (2007) (Thai): Narrow Nuts มผช.๑๓๘๒/๒๕๕๐ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน แคบถวั่ ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลติ ภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมแคบถั่วที่บรรจุในภาชนะบรรจุ ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนน ี้ มีดังตอไปน ี้ ๒.๑ แคบถั่ว หมายถึง ผลติ ภัณฑที่ไดจากการนําเมลด็ ถั่ว เชน ถั่วหัวชา ง ถั่วลันเตา ถั่วเหลือง มาแชนา้ํ ผึ่งให สะเดด็ นา้ํ โมห รือบดใหละเอียด กรองเอาสวนที่เปน นา้ํ ไปตมใหเดือด อาจเติมสว นประกอบอนื่ เชน เกลือ น้ําตาล งา เคยี่ วใหขนเหนียวพอเหมาะ นาํ ไปทาํ ใหเปน แผน ทําใหแหงโดยใชความรอนจากแสงอาทิตยหรือ แหลงพลังงานอื่น กอนบรโิ ภคควรนาํ ไปทาํ ใหสุกอีกครั้ง ๓. ชนิด ๓.๑ แคบถั่ว แบงเปน ๒ ชนิด คอื ๓.๑.๑ แคบถั่วดิบ ๓.๑.๒ แคบถั่วพรอมบริโภค ๔. คุณลักษณะที่ตองการ ๔.๑ ลักษณะทั่วไป ๔.๑.๑ แคบถั่วดิบ ตองเปนแผนแหง มีความหนาคอนขางสม่ําเสมอ ในภาชนะบรรจุเดียวกันตองมขี นาดใกลเคียงกัน อาจแตกหักไดบา งเล็กนอย กรณีมีสวนประกอบอื่นสวนประกอบตองกระจายตัวคอ นขางสม่ําเสมอ ๔.๑.๒ แคบถั่วพรอมบริโภค ตองเปนแผน แหง กรอบ มคี วามหนาคอ นขางสม่ําเสมอ ในภาชนะบรรจุเดียวกนั ตอ งมีขนาดใกลเ คียง กัน อาจแตกหกั ไดบา งเล็กนอ ย กรณีมีสวนประกอบอื่นสวนประกอบตองกระจายตวั คอนขางสม่ําเสมอ ๔.๒ สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของแคบถั่ว - ๑ - มผช.๑๓๘๒/๒๕๕๐ ๔.๓ กลิ่นรส ตองมีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของแคบถั่ว ปราศจากกลิ่นรสอื่นที่ไมพึงประสงค ๔.๔ ลักษณะเนื้อสมั ผัส ตองกรอบ ไมแ ข็งกระดาง เมื่อตรวจสอบโดยวิธใี หคะแนนตามขอ ๙.๑ แลว ตองไดค ะแนนเฉลยี่ ของแตละลักษณะจากผตู รวจสอบทุกคน ไมนอยกวา ๓ คะแนน และไมมีลักษณะใดได  ๑ คะแนนจากผูตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง ๔.๕ สิ่งแปลกปลอม ตองไมพบสิ่งแปลกปลอมที่ไมใชสวนประกอบที่ใช เชน เสนผม ดิน ทราย กรวด ชิ้นสวนหรือสิ่งปฏิกูล จากสตั ว ๔.๖ ความชื้น ๔.๖.๑ แคบถั่วดบิ ตองไมเกนิ รอยละ ๑๕ โดยน้ําหนัก ๔.๖.๒ แคบถั่วพรอมบริโภค ตองไมเกนิ รอยละ ๗ โดยน้ําหนัก ๔.๗ จุลินทรีย ๔.๗.๑ แคบถั่วดิบ ๔.๗.๑.๑ ยีสตและรา ตองไมเกิน ๕๐๐ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม ๔.๗.๒ แคบถั่วพรอมบริโภค ๔.๗.๒.๑ จํานวนจุลินทรียทั้งหมด ตองนอยกวา ๑ ๑๐ ๖ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม × ๔.๗.๒.๑ ยีสตและรา ตองไมเกิน ๑๐๐ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม ๕. สุขลักษณะ ๕.๑ สุขลักษณะในการทําแคบถั่ว ใหเปนไปตามคําแนะนาํ ตามภาคผนวก ก. ๖. การบรรจุ ๖.๑ ใหบรรจุแคบถั่วในภาชนะบรรจุที่สะอาด ปดไดสนิท และสามารถปองกันการปนเปอนจากสิ่งสกปรก ภายนอกได ๖.๒ น้ําหนักสุทธิของแคบถั่วในแตละภาชนะบรรจุ ตองไมนอยกวาที่ระบุไวที่ฉลาก - ๒ - มผช.๑๓๘๒/๒๕๕๐ ๗. เครื่องหมายและฉลาก ๗.๑ ที่ภาชนะบรรจุแคบถั่วทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียดตอไปนี้ ใหเห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อเรียกผลิตภณั ฑ เชน แคบถั่ว แคบถั่วดบิ แคบถั่วพรอ มบริโภค แคบถั่วกรอบ แคบถั่วป ู (๒) สวนประกอบที่สําคัญ (๓) น้ําหนักสุทธ ิ (๔) วัน เดือน ปที่ทํา และวัน เดือน ปที่หมดอายุ หรือขอความวา “ควรบริโภคกอน (วัน เดือน ป)” (๕) ขอแนะนาํ ในการบริโภคและการเก็บรักษา เชน กอนบริโภคควรปงดวยไฟออน (๖) ชื่อผูทําหรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาทจี่ ดทะเบียน ในกรณีทใี่ ชภาษาตา งประเทศ ตองมีความหมายตรงกบั ภาษาไทยที่กาํ หนดไวขางตน ๘. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๘.๑ รุน ในทนี่ ี้ หมายถึง แคบถั่วชนิดเดียวกัน ที่มีสวนประกอบเดียวกัน ทําในระยะเวลาเดียวกัน ๘.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปน ี้ ๘.๒.๑ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบสิ่งแปลกปลอม การบรรจุ และเครื่องหมายและ ฉลาก ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลวทุก ตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๔.๕ ขอ ๖. และขอ ๗. จึงจะถือวาแคบถั่วรุนนั้นเปน ไปตามเกณฑที่กําหนด ๘.๒.๒ การชักตัวอยา งและการยอมรับ สําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป สี กลิ่นรส และลกั ษณะเนื้อสัมผัส ใหใชต ัวอยางที่ผานการทดสอบตามขอ ๘.๒.๑ แลว จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจ ุ เมื่อตรวจสอบแลว ทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๔.๑ ถึงขอ ๔.๔ จึงจะถือวาแคบถั่วรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๘.๒.๓ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบความชื้น ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เพื่อทําเปนตัวอยางรวม โดยมีน้ําหนักรวมไมนอยกวา ๒๐๐ กรัม กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกันใหไดตัวอยางที่มีน้ําหนักรวมตามท่ี กําหนดเมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๔.๖ จึงจะถือวาแคบถั่วรุนนั้นเปนไปตามเกณฑ ที่กําหนด ๘.๒.๔ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบจุลินทรีย ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เพื่อทําเปนตัวอยางรวม โดยมีน้ําหนักรวมไมนอยกวา ๒๐๐ กรัม กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกันใหไดตัวอยางที่มีน้ําหนักรวมตามที่ กําหนด เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๔.๗ จึงจะถือวาแคบถั่วรุนนั้นเปนไปตาม เกณฑที่กําหนด ๘.๓ เกณฑตัดสนิ ตัวอยางแคบถั่วตองเปนไปตามขอ ๘.๒.๑ ขอ ๘.๒.๒ ขอ ๘.๒.๓ และขอ ๘.๒.๔ ทุกขอ จึงจะถือวา แคบถั่วรุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลติ ภณั ฑชุมชนน ี้ - ๓ - มผช.๑๓๘๒/๒๕๕๐ ๙. การทดสอบ ๙.๑ การทดสอบลกั ษณะทั่วไป สี กลิ่นรส และลักษณะเนื้อสัมผัส ๙.๑.๑ ใหแตงตั้งคณะผูตรวจสอบ ประกอบดวยผูที่มีความชํานาญในการตรวจสอบแคบถั่วอยางนอย ๕ คน แตละคนจะแยกกันตรวจและใหคะแนนโดยอิสระ ๙.๑.๒ วางตัวอยางแคบถั่วลงบนจานกระเบื้องสีขาว ตรวจสอบลักษณะทั่วไปและสีโดยการตรวจพินิจ กรณีตัวอยางแคบถั่วดิบใหนําไปใหความรอนที่อุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสม ตรวจสอบกลิ่นรส และลักษณะเนื้อสัมผัสโดยการชิม ๙.๑.๓ หลักเกณฑการใหคะแนน ใหเปนไปตามตารางที่ ๑ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑก ารใหคะแนน (ขอ ๙.๑.๓) ระดับการตดั สิน (คะแนน) ลักษณะที่ตรวจสอบ เกณฑที่กําหนด ดีมาก ด ี พอใช ตองปรับปรุง ลักษณะทั่วไป แคบถั่วดิบ ๔ ๓ ๒ ๑ ตองเปนแผนแหง มีความหนาคอนขาง สม่ําเสมอ ในภาชนะบรรจุเดียวกันตอง มีขนาดใกลเคียงกัน อาจแตกหักไดบาง เล็กนอย กรณีมีสวนประกอบอื่น สวนประกอบตองกระจายตัวคอนขาง สม่ําเสมอ แคบถั่วพรอมบริโภค ตองเปนแผนแหง กรอบ มีความหนา คอนขางสม่ําเสมอ ในภาชนะบรรจุ เดียวกันตองมีขนาดใกลเคียงกัน อาจ แตกหักไดบางเล็กนอย กรณีมี สวนประกอบอื่นสวนประกอบตอง กระจายตัวคอนขางสม่ําเสมอ สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของแคบถั่ว ๔ ๓ ๒ ๑ กลิ่นรส ตองมีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของ ๔ ๓ ๒ ๑ แคบถั่ว ปราศจากกลิ่นรสอื่นที่ไมพึง ประสงค ลักษณะเนื้อสมั ผัส ตองกรอบ ไมแ ข็งกระดาง ๔ ๓ ๒ ๑ - ๔ - มผช.๑๓๘๒/๒๕๕๐ ๙.๒ การทดสอบสงิ่ แปลกปลอม ภาชนะบรรจ ุ และเครื่องหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ ๙.๓ การทดสอบความชื้น ใหใชวิธีทดสอบตาม AOAC หรือวิธีทดสอบอื่นที่เปนที่ยอมรับ ๙.๔ การทดสอบจลุ ินทรีย ใหใชวิธีทดสอบตาม AOAC หรือ BAM หรือวิธีทดสอบอื่นที่เปนที่ยอมรับ ๙.๕ การทดสอบนา้ํ หนักสุทธ ิ ใหใชเครื่องชั่งที่เหมาะสม - ๕ - มผช.๑๓๘๒/๒๕๕๐ ภาคผนวก ก. สุขลักษณะ (ขอ ๕.๑) ก.๑ สถานที่ตั้งและอาคารที่ทํา ก.๑.๑ สถานที่ตั้งตัวอาคารและที่ใกลเคียง อยูในที่ที่จะไมทําใหผลิตภัณฑที่ทําเกิดการปนเปอนไดงาย โดย ก.๑.๑.๑ สถานที่ตั้งตัวอาคารและบริเวณโดยรอบ สะอาด ไมมีน้ําขังแฉะและสกปรก ก.๑.๑.๒ อยูหางจากบริเวณหรือสถานที่ที่มีฝุน เขมา ควัน มากผิดปกติ ก.๑.๑.๓ ไมอยูใกลเคียงกับสถานที่นารังเกียจ เชน บริเวณเพาะเลี้ยงสัตว แหลงเก็บหรือกําจัดขยะ ก.๑.๒ อาคารที่ทํามีขนาดเหมาะสม มีการออกแบบและกอสรางในลักษณะที่งายแกการบํารุงรักษา การทํา ความสะอาด และสะดวกในการปฏิบัติงาน โดย ก.๑.๒.๑ พื้น ฝาผนัง และเพดานของอาคารที่ทํา กอสรางดวยวัสดุที่คงทน เรียบ ทําความสะอาด และ ซอมแซมใหอยูในสภาพที่ดีตลอดเวลา ก.๑.๒.๒ แยกบริเวณที่ทําออกเปนสัดสวน ไมอยูใกลหองสุขา ไมมีสิ่งของที่ไมใชแลวหรือไมเกี่ยวของกับ การทําอยูในบริเวณที่ทํา ก.๑.๒.๓ พื้นที่ปฏิบัติงานไมแออัด มีแสงสวางเพียงพอ และมีการระบายอากาศที่เหมาะสม ก.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณในการทํา ก.๒.๑ ภาชนะหรืออุปกรณในการทําที่สัมผัสกับผลิตภัณฑ ทําจากวัสดุมีผิวเรียบ ไมเปนสนิม ลางทําความ สะอาดไดงาย ก.๒.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใช สะอาด เหมาะสมกับการใชงาน ไมกอใหเกิดการปนเปอน ติดตั้งไดงาย มีปริมาณเพียงพอ รวมทั้งสามารถทําความสะอาดไดงายและทั่วถึง ก.๓ การควบคุมกระบวนการทํา ก.๓.๑ วัตถุดิบและสวนผสมในการทํา สะอาด มีคุณภาพดี มีการลางหรือทําความสะอาดกอนนําไปใช ก.๓.๒ การทํา การเก็บรักษา การขนยาย และการขนสง ใหมีการปองกันการปนเปอนและการเสื่อมเสียของ ผลิตภัณฑ ก.๔ การสุขาภิบาล การบํารุงรักษา และการทําความสะอาด ก.๔.๑ น้ําที่ใชลางทําความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ และมือของผูทํา เปนน้ําสะอาดและมีปริมาณ เพียงพอ ก.๔.๒ มีวิธีการปองกันและกําจัดสัตวนําเชื้อ แมลงและฝุนผง ไมใหเขาในบริเวณที่ทําตามความเหมาะสม ก.๔.๓ มีการกําจัดขยะ สิ่งสกปรก และน้ําทิ้ง อยางเหมาะสม เพื่อไมกอใหเกิดการปนเปอนกลับลงสูผลิตภัณฑ ก.๔.๔ สารเคมีที่ใชลางทําความสะอาด และใชกําจัดสัตวนําเชื้อและแมลง ใชในปริมาณที่เหมาะสม และ เก็บแยกจากบริเวณที่ทํา เพื่อไมใหปนเปอนลงสูผลิตภัณฑได ก.๕ บุคลากรและสุขลักษณะของผูทํา ผูทําทุกคน ตองรักษาความสะอาดสวนบุคคลใหดี เชน สวมเสื้อผาที่สะอาด มีผาคลุมผมเพื่อปองกันไมให เสนผมหลนลงในผลิตภัณฑ ไมไวเล็บยาว ลางมือใหสะอาดทุกครั้งกอนปฏิบัติงาน หลังการใชหองสุขา และเมื่อมือสกปรก - ๖ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.