ebook img

TCPS 1219-2549: Palm Seed in Syrup PDF

2006·0.49 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 1219-2549: Palm Seed in Syrup

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 1219-2549 (2006) (Thai): Palm Seed in Syrup มผช.๑๒๑๙/๒๕๔๙ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ลูกชิดในนา้ํ เชื่อม ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมลูกชิดในน้ําเชื่อมที่บรรจุในภาชนะบรรจุที่ปดสนิทที่เปนกระปอง โลหะและขวดแกว ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปนี้ ๒.๑ ลูกชิดในน้ําเชื่อม หมายถึง ผลิตภัณฑที่ไดจากการนําลูกตาวมาตม ปาดสวนหัวออก บีบเนื้อในเมล็ด ที่เรียกวา ลูกชิด ออกมา นํามาลางใหสะอาด อาจแชในสารฟอกขาว เชน โซเดียมเมตาไบซัลไฟต และอาจแชในสารละลายที่ชวยใหคงตัว เชน น้ําปูนใส แคลเซียมคลอไรด ลาง บรรจุพรอมน้ําเชื่อมที่ ปรับสภาพใหเ ปน กรดในภาชนะบรรจ ุ ไลอ ากาศ ปด ฝา แลว ใหค วามรอ นเพอื่ ฆา เชอื้ ทอี่ ณุ หภมู แิ ละระยะเวลา ทเี่ หมาะสม ๒.๒ นา้ํ หนกั เนอื้ (drained weight) หมายถงึ นา้ํ หนกั ของเนอื้ ลกู ชดิ ในภาชนะบรรจทุ ไี่ มร วมสว นทเี่ ปน นา้ํ เชอื่ ม ๓. คุณลักษณะที่ตองการ ๓.๑ ลักษณะทั่วไป สวนที่เปน นา้ํ เชอื่ มตอ งใส ในภาชนะบรรจเุ ดยี วกนั ลกู ชดิ ตอ งมขี นาดใกลเ คยี งกนั อาจมชี นิ้ เศษไดบ า งเลก็ นอ ย ๓.๒ สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของลูกชิดในน้ําเชื่อม ๓.๓ กลิ่นรส ตองมีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของลูกชิดในน้ําเชื่อม ปราศจากกลิ่นรสอื่นที่ไมพึงประสงค เชน กลิ่นบูด รสเปรี้ยว ๓.๔ ลักษณะเนื้อสัมผัส ตองไมเละ เมื่อตรวจสอบโดยวิธีใหคะแนนตามขอ ๘.๑ แลว ตองไดคะแนนเฉลี่ยของแตละลักษณะจากผูตรวจสอบทุกคน ไมนอ ยกวา ๓ คะแนน และไมม ลี กั ษณะใดได  ๑ คะแนนจากผตู รวจสอบคนใดคนหนงึ่ - ๑ - มผช.๑๒๑๙/๒๕๔๙ ๓.๕ สิ่งแปลกปลอม ตอ งไมพ บสงิ่ แปลกปลอมที่ไมใชสวนประกอบที่ใช เชน เสนผม ดิน ทราย กรวด ชิ้นสวนหรือสงิ่ ปฏกิ ลู จากสตั ว ๓.๖ ความเปนกรด-ดาง ตอ งไมเ กนิ ๔.๕ ๓.๗ วัตถุเจือปนอาหาร ๓.๗.๑ หา มใชว ตั ถกุ นั เสยี ทกุ ชนดิ ๓.๗.๒ หากมกี ารใชส ารฟอกขาว ใหใ ชไ ดต ามชนดิ และปรมิ าณทกี่ ฎหมายกาํ หนด ๓.๗.๓ หากมกี ารใชส ารชว ยใหค งตวั (คาํ นวณเปน แคลเซยี ม) ตอ งไมเ กนิ ๑ ๐๐๐ มลิ ลกิ รมั ตอ กโิ ลกรมั ๓.๘ จุลินทรีย ๓.๘.๑ จํานวนจุลินทรียทั้งหมด ตองไมเกิน ๑ ๑๐๓ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม × ๓.๘.๒ โคลิฟอรม โดยวิธีเอ็มพีเอ็น ตองนอยกวา ๓ ตอตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๘.๓ แฟลตซาวร ตองไมพบ ๓.๘.๔ แอซิดูริกสปอยเลจบักเตรี ตองไมพบ ๓.๘.๕ ยีสตและรา ตองไมเกิน ๑๐๐ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม ๔. สุขลักษณะ ๔.๑ สุขลักษณะในการทําลกู ชดิ ในนา้ํ เชอื่ ม สถานประกอบการตองไดรับอนุญาตจากกระทรวงสาธารณสขุ และ ใหเ ปน ไปตามคาํ แนะนําตามภาคผนวก ก. ๕. การบรรจุ ๕.๑ ใหบ รรจุลกู ชดิ ในนา้ํ เชอื่ มในภาชนะบรรจทุ สี่ ะอาด ปด ไดส นทิ สามารถปอ งกนั การปนเปอ นจากสงิ่ สกปรก ภายนอกได  และตอ งไมม ลี กั ษณะภายนอกผดิ ปกต ิ เชน บวม บบุ จนทาํ ใหเ กดิ การเสยี รปู รวั่ ซมึ เปน สนมิ ๕.๒ การปด ผนกึ ภาชนะบรรจ ุตอ งไมเกดิ โอกาสใหม กี ารปนเปอ นหรอื เกดิ ความเปนพษิ จากวสั ดทุ ใี่ ชใ นการปด ผนกึ ๕.๓ น้ําหนักสุทธิและน้ําหนักเนื้อของลูกชิดในน้ําเชื่อมในแตละภาชนะบรรจุ ตองไมนอยกวาที่ระบุไวที่ฉลาก - ๒ - มผช.๑๒๑๙/๒๕๔๙ ๖. เครื่องหมายและฉลาก ๖.๑ ที่ภาชนะบรรจุลูกชิดในน้ําเชื่อมทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียด ตอไปนี้ใหเห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อเรียกผลิตภัณฑ เชน ลูกชิดในน้ําเชื่อม ลูกตาวในน้ําเชื่อม ลูกตาวในน้ําเชื่อม (๒) สวนประกอบที่สําคัญ (๓) ชนิดและปริมาณวัตถุเจือปนอาหาร (ถามี) (๔) น้ําหนักสุทธิและน้ําหนักเนื้อ (๕) วัน เดือน ปที่ทํา และวัน เดือน ปที่หมดอายุ หรือขอความวา “ควรบริโภคกอน (วัน เดือน ป)” (๖) ขอแนะนําในการบริโภคและการเก็บรักษา เชน ควรเก็บไวในตูเย็นหลังจากเปดภาชนะ (๗) ชื่อผูทําหรือสถานที่ทํา พรอมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน ในกรณที ใี่ ชภ าษาตา งประเทศ ตอ งมคี วามหมายตรงกบั ภาษาไทยทกี่ าํ หนดไวข า งตน ๗. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๗.๑ รนุ ในทนี่ ี้หมายถงึ ลูกชิดในน้ําเชื่อมทที่ าํ ในระยะเวลาเดยี วกนั ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๗.๒.๑ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบสงิ่ แปลกปลอม การบรรจ ุ และเครอื่ งหมายและ ฉลาก ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลว ทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๕ ขอ ๕. และขอ ๖. จึงจะถือวาลูกชิดในน้ําเชื่อมรุนนั้นเปนไป ตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๒ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบลกั ษณะทวั่ ไป ส ี กลนิ่ รส และลกั ษณะเนอื้ สมั ผสั ใหใ ชต วั อยา งทผี่ า นการทดสอบตามขอ ๗.๒.๑ แลว จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจ ุ เมอื่ ตรวจสอบ แลว ทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๑ ถึงขอ ๓.๔ จึงจะถือวาลูกชิดในน้ําเชื่อมรุนนั้นเปนไปตาม เกณฑที่กําหนด ๗.๒.๓ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบความเปนกรด-ดางและวัตถุเจือปนอาหาร ใหชักตัวอยา งโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เพื่อทําเปนตัวอยางรวม โดยมีน้ําหนักรวมไมนอยกวา ๒๐๐ กรัม กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยวิธีสุมจากรุน เดียวกันใหไดตัวอยางที่มีน้ําหนักรวมตามที่กําหนด เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตาม ขอ ๓.๖ และขอ ๓.๗ จึงจะถือวา ลกู ชดิ ในนา้ํ เชอื่ มรนุ นนั้ เปน ไปตามเกณฑท กี่ าํ หนด ๗.๒.๔ การชักตัวอยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบจลุ นิ ทรยี  ใหช กั ตวั อยา งโดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี วกนั จาํ นวน ๘ หนว ยภาชนะบรรจ ุ เมอื่ ตรวจสอบแลว ทกุ ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๘ จงึ จะถอื วา ลูกชิด ในน้ําเชื่อมรุนนนั้ เปน ไปตามเกณฑท กี่ าํ หนด - ๓ - มผช.๑๒๑๙/๒๕๔๙ ๗.๓ เกณฑตัดสิน ตวั อยา งลกู ชดิ ในน้ําเชื่อมตองเปนไปตามขอ ๗.๒.๑ ขอ ๗.๒.๒ ขอ ๗.๒.๓ และขอ ๗.๒.๔ ทกุ ขอ จงึ จะ ถือวาลูกชิดในน้ําเชื่อมรุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ ๘. การทดสอบ ๘.๑ การทดสอบลักษณะทั่วไป สี กลิ่นรส และลักษณะเนื้อสัมผัส ๘.๑.๑ ใหแตงตงั้ คณะผตู รวจสอบ ประกอบดวยผทู มี่ คี วามชาํ นาญในการตรวจสอบลกู ชดิ ในนา้ํ เชอื่ มอยา งนอ ย ๕ คน แตละคนจะแยกกันตรวจและใหคะแนนโดยอิสระ ๘.๑.๒ เทตัวอยางลูกชิดในน้ําเชื่อมลงในถวยกระเบื้องสีขาว ตรวจสอบโดยการตรวจพินิจและชิม ๘.๑.๓ หลักเกณฑการใหคะแนน ใหเปนไปตามตารางที่ ๑ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑการใหค ะแนน (ขอ ๘.๑.๓) ระดับการตัดสิน (คะแนน) ลักษณะที่ตรวจสอบ เกณฑที่กําหนด ดีมาก ดี พอใช ตองปรับปรุง ลักษณะทั่วไป สวนที่เปนน้ําเชื่อมตองใส ในภาชนะ ๔ ๓ ๒ ๑ บรรจุเดียวกันลูกชิดตองมีขนาดใกล เคยี งกนั อาจมชี นิ้ เศษไดบ า งเลก็ นอ ย สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของลูกชิดใน ๔ ๓ ๒ ๑ น้ําเชื่อม กลิ่นรส ตองมีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของลูก ๔ ๓ ๒ ๑ ชิดในน้ําเชื่อม ปราศจากกลิ่นรสอื่นที่ ไมพึงประสงค เชน กลิ่นบูด รสเปรี้ยว ลักษณะเนื้อสัมผัส ตองไมเละ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘.๒ การทดสอบสิ่งแปลกปลอม ภาชนะบรรจุ และเครื่องหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ ๘.๓ การทดสอบความเปนกรด-ดาง วตั ถเุ จอื ปนอาหาร และนา้ํ หนกั เนอื้ ใหใชวิธีทดสอบตาม AOAC หรือวิธีทดสอบอื่นที่เปนที่ยอมรับ ๘.๔ การทดสอบจุลินทรีย ใหใชวิธีทดสอบตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีวิเคราะหอาหารทางจุลชีววิทยา มาตรฐานเลขที่ มอก.๓๓๕ เลม ๑ ๘.๕ การทดสอบน้ําหนักสุทธิ ใหใชเคร่อื งชั่งที่เหมาะสม - ๔ - มผช.๑๒๑๙/๒๕๔๙ ภาคผนวก ก. สุขลักษณะ (ขอ ๔.๑) ก.๑ สถานที่ตั้งและอาคารที่ทํา ก.๑.๑ สถานที่ตั้งตัวอาคารและที่ใกลเคียง อยูในที่ที่จะไมทําใหผลิตภัณฑที่ทําเกิดการปนเปอนไดงาย โดย ก.๑.๑.๑ สถานที่ตั้งตัวอาคารและบริเวณโดยรอบ สะอาด ไมมีน้ําขังแฉะและสกปรก ก.๑.๑.๒ อยูหางจากบริเวณหรือสถานที่ที่มีฝุน เขมา ควัน มากผิดปกติ ก.๑.๑.๓ ไมอยใู กลเคียงกับสถานที่นารังเกียจ เชน บริเวณเพาะเลี้ยงสัตว แหลงเก็บหรือกําจัดขยะ ก.๑.๒ อาคารที่ทํามีขนาดเหมาะสม มีการออกแบบและกอสรางในลักษณะที่งายแกการบํารุงรักษา การทํา ความสะอาด และสะดวกในการปฏิบัติงาน โดย ก.๑.๒.๑ พื้น ฝาผนัง และเพดานของอาคารที่ทํา กอสรางดวยวัสดุที่คงทน เรียบ ทําความสะอาด และ ซอมแซมใหอยูในสภาพที่ดีตลอดเวลา ก.๑.๒.๒ แยกบริเวณที่ทาํ ออกเปนสัดสวน ไมอยูใกลหองสุขา ไมมีสิ่งของที่ไมใชแลวหรือไมเกี่ยวของกับ การทําอยูในบริเวณที่ทํา ก.๑.๒.๓ พื้นที่ปฏิบัติงานไมแออัด มีแสงสวางเพียงพอ และมีการระบายอากาศที่เหมาะสม ก.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณในการทํา ก.๒.๑ ภาชนะหรืออุปกรณในการทําที่สัมผัสกับผลิตภัณฑ ทําจากวัสดุมีผิวเรียบ ไมเปนสนิม ลางทําความ สะอาดไดงาย ก.๒.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใช สะอาด เหมาะสมกับการใชงาน ไมกอใหเกิดการปนเปอน ติดตั้งไดงาย มีปริมาณเพียงพอ รวมทั้งสามารถทําความสะอาดไดงายและทั่วถึง ก.๓ การควบคุมกระบวนการทํา ก.๓.๑ วัตถุดิบและสวนผสมในการทํา สะอาด มีคุณภาพดี มีการลางหรือทําความสะอาดกอนนําไปใช ก.๓.๒ การทํา การเก็บรักษา การขนยาย และการขนสง ใหมีการปอ งกันการปนเปอนและการเสื่อมเสียของ ผลิตภัณฑ ก.๔ การสุขาภิบาล การบํารุงรักษา และการทําความสะอาด ก.๔.๑ น้ําที่ใชลา งทาํ ความสะอาดเครอื่ งมอื เครอื่ งจกั ร อปุ กรณ  และมอื ของผทู าํ เปน นา้ํ สะอาดและมปี รมิ าณ เพียงพอ ก.๔.๒ มีวิธีการปองกันและกําจัดสัตวนําเชื้อ แมลงและฝุนผง ไมใหเขาในบริเวณที่ทําตามความเหมาะสม ก.๔.๓ มกี ารกาํ จดั ขยะ สงิ่ สกปรก และนา้ํ ทงิ้ อยา งเหมาะสม เพอื่ ไมก อ ใหเ กดิ การปนเปอ นกลบั ลงสผู ลติ ภณั ฑ ก.๔.๔ สารเคมีที่ใชลางทําความสะอาด และใชกําจัดสัตวนําเชื้อและแมลง ใชในปริมาณที่เหมาะสม และ เก็บแยกจากบริเวณที่ทํา เพื่อไมใหปนเปอนลงสูผลิตภัณฑได ก.๕ บุคลากรและสุขลักษณะของผูทาํ ผูทําทุกคน ตองรักษาความสะอาดสวนบุคคลใหดี เชน สวมเสื้อผาที่สะอาด มีผาคลุมผมเพื่อปองกันไมให เสนผมหลนลงในผลิตภัณฑ ไมไวเล็บยาว ลางมือใหสะอาดทุกครั้งกอนปฏิบัติงาน หลังการใชหองสุขา และเมื่อมือสกปรก - ๕ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.