ebook img

Arduino Uno R3 PDF

172 Pages·2017·24.29 MB·English
by  
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview Arduino Uno R3

วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก (RMUTTO RESEARCH JOURNAL) ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Reviewer) ศ.ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร ศ.ดร.สมปอง เตชะโต ศ.ดร.สนั่น จอกลอย ศ.ดร.เสาวภา อังสุภานิช ศ.ดร.อลงกลด แทนออมทอง ศ.อัมพิกา ไกรฤทธิ์ รศ.ดร.วิจิตรา แดงปรก รศ.ดร.อมรรัตน์ มุขประเสริฐ รศ.ดร.วราวุฒิ ครูส่ง รศ.ดร.จ�าเป็น อ่อนทอง รศ.ดร.มณฑล จ�าเริญพฤกษ์ รศ.ดร.ดุสิต เวชกิจ รศ.ดร.รังสฤษดิ์ กาวีต๊ะ รศ.ดร.วันชัย จันทร์ประเสริฐ รศ.ดร.วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ รศ.ดร.พรเทพ ถนนแก้ว รศ.ดร.สมเกียรติ สายธนู รศ.ดร.วิศิษฐิพร สุขสมบัติ รศ.ดร.วันวิศาข์ งามผ่องใส รศ.ดร.เทอดชัย เวียร์ศิลป รศ.ดร.สุชีรา เตชะวงค์เสถียร รศ.ดร.สุวัจน์ ธัญรส รศ.ดร.สมพงษ์ ดุลจินดาชบาพร รศ.ดร.วีรพงษ์ วุฒิพันธุ์ชัย รศ.ดร.วารี เนื่องจ�านงค์ รศ.ดร.จรูญ จักษ์มุณี รศ.ดร.ประเทือง อุษาบริสุทธิ์ รศ.ดร.อนุพันธ์ เทอดวงศ์วรกุล รศ.ดร.สุรชัย รดาการ รศ.ดร.ฉัตรชัย นิมมล รศ.ดร.กฤษณ์ชนม์ ภูมิกิตติพิชญ์ รศ.ดร.วินัย กล้าจริง รศ.ดร.วาณี ชัยวัฒนสิน รศ.ดร.ปราโมทย์ พรสุริยา รศ.ดร.ฤกษ์ชัย ฟูประทีปศิริ รศ.ดร.วิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรือง รศ.น.สพ.ดร.สุวิชัย โรจนเสถียร รศ.น.สพ.ดร.ธีระ รักความสุข รศ.น.สพ.ชูชาติ กมลเลิศ รศ.บัญญัติ บุญปาลวงศ์ รศ.มาโนชญ์ กูลพฤกษี รศ.ธัญพิสิษฐ์ พวงจิก รศ.อุธร ฤทธิลึก รศ.สมพล ด�ารงเสถียร ผศ.ดร.มังกร สมสุด ผศ.ดร.ธีรวัฒน์ ศรุตโยภาส ผศ.ดร.ปราโมทย์ สฤษดิ์นิรันทร์ ผศ.ดร.เสกสม อาตมางกูร ผศ.ดร.ศิวลักษณ์ ปฐวีรัตน์ ผศ.ดร.ปิติศานต์ กร�้ามาตร ผศ.ดร.ผดุงศักดิ์ วานิชชัง ผศ.ดร.วัชรพล ชยประเสริฐ ผศ.ดร.ใจทิพย์ วานิชชัง ผศ.ดร.ถาวร ธีรเวชญาณ ผศ.ดร.สมศักดิ์ รักเกียรติวินัย ผศ.ดร.นฤมล มงคลธนวัฒน์ ผศ.สพ.ญ.ทิพยรัตน์ มูสิกะเริญ ผศ.ภรต กุญชร ณ อยุธยา ผศ.พรทิพย์ พรสุริยา ดร.อ�านวย เถาตระกูล ดร.ภัทรุตม์ ทรรทรานนท์ ดร.วราทิตย์ ดลสุจิต ดร.สุธีรา อานามวงษ์ ดร.พิมพ์พรรณ ปรืองาม ทีมงานจัดท�าวารสาร ดร.ภทรพร ยุทธาภรณ์พินิจ รศ.ดร.ปราโมทย์ พรสุริยา ดร.ชัยวัฒน์ หฤทัยพันธ์ ผศ.พรทิพย์ พรสุริยา นางสาววรรณษา บาลโสง นางสาวประกาย ขวัญหลาย นางสาวเตือนใจ สลับศรี นางสาววีรยา แจ่มสวัสดิ์ นางสาวนิราวัลย์ ศรีทอง นางสาวปุญณชา สุริยะสาร นางสาววิลาวัลย์ ฤทธิ์เรืองโรจน์ นางสาวลัคนามณี บังเกิดสุข นางสาวสุวรรณา ปัดทาบาล นางสาวอริสา ฉายแสง วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก Rajamangala University of Technology Tawan-ok Research Journal ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 Vol.10 No.1 January - June 2017 Institute of Research and Development Rajamangala University of Technology Tawan-ok http://ird.rmutto.ac.th ISSN 1906-1889 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ผู้จัดพิมพ ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ก�าหนดการเผยแพร ่ ตีพิมพ์ 2 ฉบับต่อปี และเผยแพร่ในเว็ปไซต์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก การเผยแพร ่ มอบให้ห้องสมุดหน่วยงานรัฐบาล สถาบันการศึกษาในประเทศ และหน่วยงาน/บุคคลที่สนใจ ข้อมูลติดต่อ กองบรรณาธิการวารสารวิจัย ส�านักงานวารสารวิจัย มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก อาคารส�านักงานอธิการบดี ชั้น 5 เลขที่ 43 ม.6 ต.บางพระ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 โทร. 0-3835-8201 ต่อ 8508-8510 โทรสาร 0-3835-8142 http://ird.rmutto.ac.th v บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ v มีผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกประจ�ากองบรรณาธิการมากกว่าร้อยละ 50 v มีบทความจากนักวิชาการและนักวิจัยภายนอกลงตีพิมพ์ทุกฉบับ v ข้อความและบทความในวารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เปน็ แนวคดิ ของผเู้ขยี น ไมใ่ ชค่ วามคดิ เหน็ และความรบั ผดิ ชอบของคณะผจู้ ดั ท�า บรรณาธกิ าร กองบรรณาธิการ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก v กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอก แต่ควรระบุแหล่งอ้างอิงจากวารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ชลกิจการพมิ พ์ 47 ถ.ศรีราชานคร 1 ต.ศรีราชา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 โทร. 038-324711 E-mail : [email protected] วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 Vol. 10 No. 1 January - June 2017 ISSN 1906-1889 เจ้าของ กองบรรณาธิการ สถาบันวิจัยและพัฒนา ศ.ดร.สิน พันธ์ุพินิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ศ.ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร ม.เกษตรศาสตร์ ศ.ดร.เสาวภา อังสุภานิช ม.สงขลานครินทร์ ที่ปรึกษา ศ.ดร.สนั่น จอกลอย ม.ขอนแก่น ผศ.ดร.อารมย์ ตัตตวะศาสตร์ ศ.ดร.อลงกลด แทนออมทอง ม.ขอนแก่น รศ.ดร.อ�านวย ค�าตื้อ ศ.อัมพิกา ไกรฤทธิ์ ม.เกษตรศาสตร์ รศ.ประวิตร พุทธานนท์ รศ.ดร.สมเกียรติ สายธนู ม.ราชภัฏล�าปาง ศ.ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร รศ.ดร.อมรรัตน์ มุขประเสริฐ มจพ. ศ.อัมพิกา ไกรฤทธิ์ รศ.ดร.จ�าเป็น อ่อนทอง ม.สงขลานครินทร์ ศ.ดร.สมปอง เตชะโต รศ.นสพ.ดร.สุวิชัย โรจนเสถียร ม.เชียงใหม่ ศ.ดร.อลงกลด แทนออมทอง รศ.ดร.สุชีรา เตชะวงศ์เสถียร ม.ขอนแก่น รศ.ดร.ดุสิต เวชกิจ รศ.ดร.ดุสิต เวชกิจ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช รศ.ดร.จ�าเป็น อ่อนทอง รศ.ดร.วุฒิพงศ์ วุฒิพันธชัย ม.บูรพา รศ.นสพ.ดร.สุวิชัย โรจนเสถียร รศ.ดร.สุวัจน์ ธัญรส มทร.ศรีวิชัย รศ.ดร.สุชีรา เตชะวงศ์เสถียร รศ.ดร.กฤษณ์ชนม์ ภูมิกิตติพิชญ์ มทร.ธัญบุรี รศ.ดร.อมรรัตน์ มุขประเสริฐ รศ.ดร.สมเกียรติ สายธนู รศ.ดร.กฤษชนม์ ภูมิกิตติพิชญ์ ผลงานวิจัยหรือบทความที่ปรากฏในวารสาร รศ.ธัญพิสิษฐ์ พวงจิก นี้เป็นแนวคิดและความรับผิดชอบของผู้เขียน บรรณาธิการ ไม่ใช่แนวคิดของคณะผู้จัดท�า กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ปราโมทย์ พรสุริยา ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอก แต่ควรระบุแหล่งอ้างอิง จาก วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ผู้ช่วยบรรณาธิการ ราชมงคลตะวันออก ผศ.พรทิพย์ พรสุริยา รศ.ดร.สุธัญญา พรหมสมบูรณ์ บบททบบรรรรณณาาธธิกิกาารร วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ฉบับนี้เป็นฉบับแรกของปี 2560 ซึ่งนับเป็น ปที ี่10 ของวารสาร ดงั นนั้ หากนบั โดยประมาณแลว้ วารสารวจิ ยั ของเราไดต้ พี มิ พเ์ผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ในสาขาวชิ า ต่าง ๆ ของนักวิจัยมาประมาณ 300 เรื่องแล้ว ได้เป็นเวทีส�าหรับการเผยแพร่ผลงานส�าหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ ไดส้ รา้ งและพฒั นานกั วจิ ยั ใหม้ ผี ลงานและต�าแหนง่ ทางวชิ าการไปแลว้ หลาย ๆ ทา่ น ดงั นนั้ จงึ ขอขอบคณุ ผบู้ รหิ าร สถาบันวิจัยและพัฒนารวมทั้งผู้บริหารของมหาวิทยาลัยฯ ในอดีต ที่ได้เล็งเห็นความส�าคัญของเผยแพร่ผลงาน วจิ ยั และไดจ้ ดั ตงั้ วารสารวจิ ยั ฯ ขนึ้ มา ตลอดระยะเวลาทผี่ า่ นมาทางกองบรรณาธกิ ารและคณะผจู้ ดั ท�าไดค้ �านงึ ถงึ คุณภาพทางวิชาการของผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารมาโดยตลอด และจากการได้มีการก่อตั้งศูนย์ดัชนีการอ้างอิง วารสารไทย หรือศูนย์ TCI ขึ้นมา ในปี 2547 เป็นต้นมา วารสารวิชาการของไทยก็ได้มีการพัฒนาคุณภาพขึ้นมา อย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม เช่นเดียวกับวารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ก็ได้มีการ พฒั นาการขนึ้ มาอยา่ งตอ่ เนอื่ งและปจั จบุ นั ได้อยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 1 โดยเปา้ หมายในการดา� เนนิ การตอ่ ไป คอื การน�าวารสารวจิ ยั ฯ เขา้ ไปอยใู่ นระบบ Thai Journals Online หรอื ThaiJo ซงึ่ จะท�าใหน้ กั วจิ ยั มคี วามสะดวก ในการส่งและติดตามความก้าวหน้าในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยได้มากยิ่งขึ้น วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก รับบทความวิชาการทั้งที่เป็นบทความวิจัย (research articles) และบทความปริทัศน์ (review articles) โดยบทความวิชาการที่ได้รับตีพิมพ์ต้องผ่าน การประเมนิ ตรวจสอบและเหน็ ชอบจากผทู้ รงคณุ วฒุ ขิ องวารสารอยา่ งนอ้ ย 2 ทา่ น และตอ้ งเปน็ บทความทไี่ มเ่คย ได้รับการตีพิมพ์มาก่อน และจากการที่วารสารของเราไม่ได้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการตีพิมพ์ แต่ทางวารสาร ต้องมีค่าตอบแทนให้กับผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจประเมินบทความ ดังนั้นโดยจรรยาบรรณของนักวิจัย นักวิจัย ต้องไม่ส่งบทความวิชาการไปตีพิมพ์ใน 2 แหล่ง พร้อม ๆ กัน เนื่องจากวารสารทุกฉบับต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็น ค่าตอบแทนให้กับผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าว ซึ่งหากพบกรณีนี้เกิดขึ้น ทางนักวิจัยอาจไม่ได้การรับพิจารณาให้ตีพิมพ์ จากวารสารฉบับนี้หรือฉบับอื่น ๆ อีกต่อไป สุดท้ายนี้ทางคณะผู้จัดท�าและบรรณาธิการขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจอ่าน คณาจารย์และนักวิจัย ทไี่ ดส้ ง่ บทความวจิ ยั มาลงตพี มิ พเ์ผยแพร ่และผทู้ เี่กยี่ วขอ้ งในการจดั ท�าทกุ ทา่ น จนท�าใหว้ ารสารวจิ ยั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกฉบับนี้ ส�าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณ รศ.ดร.ปราโมทย์ พรสุริยา บรรณาธิการ วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก http://ird.rmutto.ac.th วารสารวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 สารบัญ หน้า ผ้ามัดย้อมด้วยสีย้อมธรรมชาติจากกากกาแฟ ...............................................................................................................1 ขนิษฐา เจริญลาภ เขมชาติ สุรกุล ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์ กมลภัทร์ รักสวน สุภาพร ตาไข นารี บุนนาค และ อ้อยใจ เลิศล�้า การประมาณค่าอุณหภูมิพื้นผิวในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่และพื้นที่รอบนอก ..........................................................11 ปุณยนุช รุธิรโก อุปกรณ์พยากรณ์อากาศภาคพื้นดินด้วยไมโครคอนโทรลเลอร ์....................................................................................20 พงศ์พัฒน์ สิงห์ศรี สุกัลยา ชาญสมร และ อรรถนิติ วงศ์จักร์ การท�านายค่าวัตถุแห้งในเนื้อปลานิลโดยใช้แสงอินฟราเรดย่านใกล้ ............................................................................27 สมศักดิ์ ระยัน และ อรอนงค์ พวงชมภู การใช้สัตว์หน้าดินเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพน�้าบริเวณล�าธารน�้าตกกระทิง อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุร ี................................................................................................................33 ทิพวัลย์ เลิศธัญญา ฉัตรชัย ทองเครือมา และ ชวัลรัตน์ สมนึก การแช่แข็งน�้าเชื้อปลาดุกอุยเพื่อประโยชน์การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า .................................................................................40 ปฏิญญา อ้นขวัญเมือง สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ และ วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย พฤติกรรมโครโมโซมในการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสของมวนล�าไย (Tessaratoma papillosa) ..................................48 วิจิตร์ วิโสรัมย์ มิ่งขวัญ นิพิฐวัธนะผล และ เลิศลักษณ์ เงินศิริ ผลของการให้น�้าแบบน�้าหยดผิวดินและชนิดปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันส�าปะหลัง พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 .................................................................................................................................................60 สุเมศ ทับเงิน สงวน พรหมชาวนา กฤษณา ทิวาตรี ชัยรัตน์ ธนยากร และ ธีระ สมหวัง การอนุบาลลูกกุ้งก้ามกรามวัยอ่อนในน�้าทะเลและน�้าทะเลสังเคราะห์ที่ผ่านการใช้ .....................................................73 ฐากร ทิพย์สุนทรศักดิ์ สมพงษ์ ดุลจินดาชบาพร ปัทมา วิริยพัฒนทรัพย์ และ อ�านวยศิลป์ สุขศรี 163 วารสารวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 http://ird.rmutto.ac.th สารบัญ หน้า ผลของการเสริมกรดแพนโทเธนิค ต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย ประสิทธิภาพการใช้อาหาร คุณภาพซาก และสุขภาพของปลาโมง (Pangasius bocourti Sauvage, 1880) .......................................................82 พรเทพ เนียมพิทักษ์ ศิริภาวี เจริญวัฒนศักดิ์ และ สมพงษ์ ดุลย์จินดาชบาพร การอบแห้งผลผลิตทางการเกษตรด้วยเทคนิคฟลูอิดไดเบดแบบแรงเหวี่ยงหนีศูนย ์.....................................................92 โพธิ์ทอง ปราณีตพลกรัง สมรรถนะและประสิทธภาพการใช้พลังงานของเครื่องอบแห้งแบบสกรูแนวราบ ส�าหรับวัสดุปริมาณมวลทางการเกษตร ......................................................................................................................104 อัศวิน ยอดรักษ์ การประยุกต์ใช้ระบบดิจิทัลไซน์เนจในการน�าเสนอสื่อการเรียนรู้ที่ท�างานร่วมกับอุปกรณ์พกพา ................................113 สุชาติ ทองรัมภากุล และ สุรศักดิ์ มังสิงห์ การคัดแยกและเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็ก Ankistrodesmus sp. BPR12 จากอ่างเก็บน�้าบางพระ จังหวัดชลบุรี เพื่อการผลิตไบโอดีเซล ..........................................................................................................................124 วราทิตย์ ดลสุจิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่เหลวและสควอชจากมะนาวโห ่.............................................................................................134 สุพจน์ แวงภูลา ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์ และ ฤทธี ชูเกียรติ การบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นของเล่นสนาม: กรณีศึกษาเด็กพิการทางสายตา .......................................................142 ยิ่งยง รุ่งฟ้า จรรยาวรรณ จรรยาธรรม ธนการ วงศ์เงิน และ พรชัย หอสุวรรณศักดิ์ 164 http://ird.rmutto.ac.th วารสารวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 ผ้ามัดย้อมด้วยสีย้อมธรรมชาติจากกากกาแฟ Tie-Dye Fabrics with Natural Dyes from Coffee Grounds ขนิษฐา เจริญลาภ1, เขมชาติ สุรกุล1, ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ2์ , กมลภัทร์ รักสวน2, สุภาพร ตาไข2, นารี บุนนาค2 และ อ้อยใจ เลิศล�้า2 1 สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 2 สาขาวิชาออกแบบสิ่งทอและแฟชั่น คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ E-mail: [email protected] โทร. 0891425195 บทคัดย่อ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมทั่วโลก โดยเฉพาะกาแฟสดซึ่งจะมีกากกาแฟเป็นของเหลือทิ้ง ดังนั้นเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้งให้เกิดประโยชน์สูงสุด งานวิจัยนี้จึงศึกษาการย้อมสีธรรมชาติด้วยกากกาแฟสด โดยศกึ ษาภาวะทเี่หมาะสมในการสกดั สธี รรมชาตจิ ากกากกาแฟสด ภาวะทเี่หมาะสมในการยอ้ มผา้ ของน�้าสที สี่ กดั ไดจ้ าก กากกาแฟ และผลการย้อมผ้าด้วยน�้าสีที่สกัดได้จากกากกาแฟ ผลการศึกษาพบว่าชนิดของตัวท�าละลาย อัตราส่วนของ กากกาแฟต่อน�้า อุณหภูมิ และเวลาที่ใช้ในการสกัดกากกาแฟมีผลต่อค่าการดูดกลืนแสงของน�้าสีอย่างมีนัยส�าคัญ โดย ภาวะที่เหมาะสมในการสกัดกากกาแฟคือใช้กากกาแฟ 20 กรัม โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.4 กรัมต่อน�้า 100 มิลลิลิตร ที่ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที และภาวะที่เหมาะสมในการย้อมด้วยน�้าสีที่สกัดจากกากกาแฟคืออัตราส่วน ของน�้าสีต่อน�้า 150:100 มิลลิลิตร อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส ระยะเวลาย้อม 60 นาที หลังจากนั้นมัดย้อมเสื้อผ้าฝ้าย ด้วยน�้าสีจากกากกาแฟ โดยใช้สารช่วยติดสีจากธรรมชาติ พบว่าสารช่วยติดสีต่างชนิดกันจะให้สีของผ้ามัดย้อมต่างกัน ค�าส�าคัญ : สิ่งทอสร้างสรรค์ สีย้อมธรรมชาติ วัสดุเหลือใช้ทางเกษตร กากกาแฟ Abstract Coffee especially fresh roasted coffee is one of the popular beverages in the world. It makes the waste of coffee grounds. In order to increase the value of waste and maximize the benefits, this research was conducted to examine coffee grounds producing natural colors in dyeing cotton textile. The research methodology consisted of color extraction from coffee grounds and the cotton textile dyeing experiments. As for techniques in color extraction and cotton dyeing, the study found that the optimum conditions for the extraction of coffee grounds were 20 g of the amount of coffee grounds, 0.4 g of NaOH, 100 ml of water, at 100oC and 60 min of extraction time. The optimum ratio of the solution extracted from coffee grounds and water was 150:50 ml and the optimum temperature and time for dyeing cotton textile were 80oC and 60 min. For fully utilizing of the waste, color extracted from coffee ground was applied in tied-dye fabrics with natural mordant. The result showed that different types of mordant made the tied-dye fabrics different in colors. Keywords : Creative Textiles, Natural Dyes, Agricultural Waste,Coffee ground 1 วารสารวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 http://ird.rmutto.ac.th 1. บทน�า งานวจิ ยั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์พอื่ สรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑจ์ ากการยอ้ มผา้ ดว้ ยสารสธี รรมชาตทิ สี่ กดั ไดจ้ ากกากกาแฟสด เนื่องจากปัจจุบันทั่วโลกตระหนักถึงผลเสียของการใช้สีสังเคราะห์ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ รวมถึงผลกระทบที่มีต่อผู้ผลิต ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ในระหว่างขั้นตอนการผลิตสี การย้อมสี และการน�าไปใช้สวมใส่ ดังจะเห็นได้จากการยกเลิก การผลิตหรือการน�าเข้าวัตถุดิบที่เป็นสารก่อมะเร็ง เช่น เบนซิดีน ที่ใช้ในการผลิตสีสังเคราะห์ในหลายประเทศ หรือ การออกกฎหมายหา้ มน�าเขา้ ผลติ ภณั ฑส์ งิ่ ทอทยี่ อ้ มดว้ ยสเีอโซ (azo dyes) ซงึ่ สามารถแตกตวั ใหส้ ารประกอบแอโรมาทกิ แอมีน (aromatic amines) และมีแนวโน้มเป็นสารก่อมะเร็ง ในกลุ่มประเทศยุโรป (Ahlström et al., 2005) ปัจจุบัน มีแนวโน้มให้ความสนใจในสีย้อมธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ใช้สีย้อมธรรมชาติมากขึ้น เนื่องจากมีความเป็นพิษและ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า (Ali et al., 2009; Hou et al., 2013; Mirjalili et al., 2011; Oktav Bulut & Akar, 2012; Yusuf et al., 2011) มงี านวจิ ยั มากมายเกยี่ วกบั การยอ้ มผา้ ด้วยวัสดุจากธรรมชาติ โดยส่วนใหญ่เป็น การสกัดสีจากส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก เปลือก ต้นแก่น กิ่ง ใบ และผล (Ali et al., 2009; Mirjalili et al., 2011; Oktav Bulut & Akar, 2012; Papita Das Saha & Keka Sinha, n.d.; Saravanan & Chandra, 2011) สีย้อมจาก ธรรมชาติมีความสวยงามและหลากหลาย อาทิ สีครามจากต้นฮ่อม สีด�าจากมะเกลือ สีเหลืองจากขมิ้น สีน�้าตาลจาก แก่นเข สีเขียวจากเปลือกมะริดไม้ สีม่วงจากต้นบก สีชมพูจากเปลือกจามจุรี สีกรักจากแก่นขนุน และสีแดงจากดินสีแดง หรือตัวครั่ง (ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ, 2551) ข้อเสียของสีย้อมจากธรรมชาติ ซึ่งเป็นเหตุให้ไม่เป็นที่นิยมใช้ คือความไม่สะดวกในการใช้งาน เนื่องจากต้องเตรียมสารละลายสีย้อมก่อน ด้วยการ โขลก บด คั้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพชื จงึ จะไดส้ ยี อ้ ม และหากเกบ็ ไวเ้ปน็ เวลานานจะท�าใหส้ ยี อ้ มทไี่ ดเ้ปลยี่ นแปลงไปตา่ งจากการใชส้ สี งั เคราะหซ์ งึ่ น�าไป ท�าสารละลายสีย้อมได้เลย สามารถควบคุมการย้อมให้ได้สีตามต้องการ (Mirjalili et al., 2011) ขณะเดียวกัน การย้อมผ้าด้วยสีธรรมชาติ พบว่ามีข้อด้อย คือการติดสีต�่า (low color yield) เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้สีสังเคราะห์ ยอ้ มแตล่ ะครงั้ ไดเ้ฉดสที ไี่ มเ่หมอื นกนั และสที ยี่ อ้ มไดม้ กั จะทา� ซา�้ ไดย้ าก และยงั มปี ญั หาสซี ดี สตี ก ระหวา่ งการนา� ไปใชง้ าน มีความคงทนของสีต่อการซักและต่อแสงต�่า ไม่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ (Siva, 2007) รวมถึงการน�า สีธรรมชาติจากส่วนประกอบต่าง ๆ ของพืช ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพืชอาหาร บางชนิดเป็นผลิตภัณฑ์จากป่า บางชนิด ได้จากเปลือก จากแก่น จากราก ท�าให้มีผลกระทบต่อการอยู่รอดของต้นไม้ และอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในระยะยาวได้ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมทั่วโลก (Mussatto et al., 2011) โดยเฉพาะกาแฟสด ซึ่ง จะมีกากกาแฟเป็นของเหลือทิ้งเป็นจ�านวนมาก โดยในแต่ละปีมีกากกาแฟเหลือทิ้งประมาณห้าล้านตัน (International Cofeee Organization, 2014) การสกัดสีย้อมจากกากกาแฟ เป็นการเพิ่มมูลค่าของกากกาแฟให้เกิดประโยชน์ได้ เนื่องจากกาแฟมีคาเฟอีนเป็นองค์ประกอบซึ่งคาเฟอีนเป็นสารที่อยู่ในกลุ่มของแทนนิน (Savolainen, 1992) โดยสาร แทนนินเป็นสารที่ช่วยเพิ่มคุณสมบัติการติดสีบนผ้าฝ้ายได้ (Prabhu & Teli, 2014) งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา ภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารสีธรรมชาติจากกากกาแฟ ภาวะที่เหมาะสมในการย้อมผ้าฝ้ายด้วยสารสีที่สกัดได้จาก กากกาแฟศึกษาผลของการย้อมผ้าด้วยสารสีที่สกัดได้จากกากกาแฟ และศึกษาความพึงพอใจในการน�าสีธรรมชาติ จากกากกาแฟมาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอ 2. วิธีการทดลอง 2.1 ศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารสีธรรมชาติจากกากกาแฟ น�ากากกาแฟสดเหลอื ทงิ้ มาตากแดดไลค่ วามชนื้ และอบแหง้ ท ี่105 องศาเซลเซยี ส จนน�้าหนกั คงท ี่ชงั่ กากกาแฟ 1.00 กรัม สกัดที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที ด้วยตัวท�าละลายต่าง ๆ ดังนี้ น�้าประปา น�้าประปาใน ภาวะด่าง น�้าประปาในภาวะกรด และตัวท�าละลายผสมระหว่างเอทานอลและน�้า โดยการน�าน�้ากาแฟที่สกัดได้จาก 2

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.