ความจริงคือหนทางสู่ความยุติธรรม: รายงานแสวงหาข้อเท็จจริงฉบับภาษาไทย ดาวน์โหลดรายงาน บทนำ เสียงจากเหยื่อ “ความจริงเพื่อความยุติธรรม” – บทที่ 1 กำเนิดและพลวัตร “คนเสื้อแดง” – บทที่ 2 ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง เมษา 53 – บทที่ 3 ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53 3.1 ความตายที่สวนลุมพินี-บ่อนไก่ 3.2 ความตายที่ราชปรารภ 3.3 ความตายที่ราชประสงค์/วัดปทุมวนาราม 3.4 การบาดเจ็บและเสียชีวิตในต่างจังหวัด – บทที่ 4 เชิงอรรถความตายจากการสลาย การชุมนุมเมษา-พฤษภา 2553 อำพราง อัปลักษณ์ และอำมหิต – บทที่ 5 การจับกุมดำเนินคดีอันสืบเนื่องจากการชุมนุมทางการ เมืองปี 53 – บทที่ 6 บทวิเคราะห์การใช้กำลังเกินกว่าเหตุในการสลายการ ชุมนุม – บทที่ 7 การใช้กฎหมายความมั่นคงในการจัดการการชุมนุม ทางการเมืองกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน – บทที่ 8 ปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสารของรัฐบาลในช่วงของความ ขัดแย้ง – บทที่ 9 “We Come in Peace” สันติวิธีฉบับคนเสื้อแดง รายงานฉบับแปลภาษาอังกฤษรวมเล่ม To download a full report, please click here. ภาคผนวก – การตาย 1. รายชื่อผู้เสียชีวิต 2. ปากคำพยาน – การจับกุม 1. ลำดับเหตุการณ์การจับกุมประชาชนระหว่างการชุมนุมทางการ เมืองเดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2553 2. รายชื่อผู้ถูกจับกุม / ดำเนินคดีและผู้ต้องขังที่สืบเนื่องจากการ ชุมนุมทางการเมืองเดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2553 3. คำให้การจำเลยในคดีที่เกี่ยวเนื่องจากการชุมนุมทางการเมือง เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2553 4. สิทธิของผู้ต้องหาหรือจำเลยและสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ตามกฎหมายไทยและกติการะหว่างประเทศ – เอกสารสำคัญที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการการชุมนุมของ นปช. ปี 2553 (สามารถดาวน์โหลดเอกสารแยกตามหัวเรื่องได้ที่นี่ เดือนมีนาคม เมษายน พฤษภาคม และหลังการสลายการชุมนุม) – ชันสูตรพลิกศพ ‘ผังล้มเจ้า’ – รายงานการสืบหาข้อเท็จจริงประเทศไทย ใบอนุญาต ฆ่า(ไทย / อังกฤษ) http://www.pic2010.org/truth/ http://www.pic2010.org/en-report/ บทนํา เสียงจากเหยื่อ “ความจริงเพื่อความยุติธรรม” พวงทอง ภวัครพันธุ์ ความเป็นมาของ ศปช. รายงานของศนู ยข์ อ้ มลู ประชาชนผไู้ ดร้ บั ผลกระทบจากการสลายการชมุ นมุ กรณี เม.ย. - พ.ค. 53 (ศปช.) ที่ท่านถืออยู่ในมือนี้ มีจุดเริ่มต้นจากคนหนุ่มสาว กลุ่มเล็ก ๆ กลุ่มหนึ่ง ที่ไม่สามารถทําใจนิ่งเฉยกับความรุนแรงที่รัฐบาลกระทําต่อ ประชาชนในเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 ได้ ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวเป็น การปราบปรามการชุมนุมท่ีทําให้ประชาชนสูญเสียชีวิตและบาดเจ็บมากที่สุด ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ คนหนุ่มสาวกลุ่มนี้จึงได้แปรเปลี่ยนความ เจ็บปวดต่อความอยุติธรรมให้เป็นความพยายามที่จะรวบรวมข้อเท็จจริงของ เหตุการณ์ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้ ความพยายามนี้เกิดขึ้นในสภาวการณ์ที่ รฐั บาลพรรคประชาธปิ ตั ย ์ ภายใตก้ ารนาํ ของนายอภสิ ทิ ธ ิ์ เวชชาชวี ะ ไดเ้บยี่ งเบน ความรับผิด (accountability) ของตนเองด้วยการประกาศว่า รัฐบาลของเขายึด หลักนิติรัฐ “พร้อมพิสูจน์ความบริสุทธิ์พร้อม ๆ ไปกับการค้นหาความจริงผ่าน กระบวนการยตุ ธิ รรม เพอื่ ใหค้ วามเปน็ ธรรมกบั ทกุ ฝา่ ยบนความเสมอภาคทที่ กุ คน อยภู่ ายใตก้ ฎหมายเดยี วกนั ”1 พรอ้ มกบั ตงั้ คณะกรรมการอสิ ระตรวจสอบและคน้ หา ความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ขึ้นมา โดยมีนายคณิต ณ นคร ดํารงตําแหน่งประธาน คอป.2 แต่ตลอดช่วงเวลาที่พรรคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล กระบวนการสืบสวน สอบสวนของกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เพื่อหาตัวผู้กระทําผิดกลับไม่มี ความกา้ วหนา้ อยา่ งทคี่ วรจะเปน็ แมอ้ ธบิ ดดี เีอสไอจะแถลงตงั้ แตป่ ลายป ี 2553 วา่ มีคดีผู้เสียชีวิตจํานวนหนึ่งที่มีข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเข้าข่ายน่าเชื่อว่า มีความตายเกิดขึ้นจากการกระทําของเจ้าพนักงาน แต่การส่งมอบคดีไปให้ เจ้าหน้าที่ตํารวจดําเนินการชันสูตรพลิกศพตามกฎหมายก็เป็นไปอย่างล่าช้า3 ใน 1 เป็นข้อความจากเฟซบุ๊คของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เรื่อง “จากใจอภิสิทธิ์ถึงคนไทยทั้ง ประเทศ 6” ตอน “นริ โทษกรรมกบั 91 ศพ,” เขยี นเมอื่ วนั ท ี่22 มถิ นุ ายน 2553, https://www. facebook.com/note.php?note_id=218400991534000 (สืบค้นวันที่ 20 มิถุนายน 2555). 2 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2553 เห็นชอบในหลักการให้มี คอป. และมีมติเมื่อ วนั ท ี่6 กรกฎาคม 2553 เหน็ ชอบใหอ้ อกระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการตรวจสอบและ ค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ พ.ศ. 2553. 3 แม้ว่าคดีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ เม.ย. - พ.ค. 53 (89 ราย) จะอยู่ในความรับผิดชอบของ ดเีอสไอ แตเ่มอื่ สบื สวนสอบสวนแลว้ เชอื่ ไดว้ า่ ความตายเกดิ ขนึ้ จากการกระทาํ ของเจา้ พนกั งาน ซงึ่ อา้ งวา่ ปฏบิ ตั ริ าชการตามหนา้ ท ี่ ดเีอสไอจะตอ้ งสง่ สาํ นวนการสอบสวนไปยงั ตาํ รวจพนกั งาน ความจริงเพื่อความยุติธรรม 11 ทางตรงกนั ขา้ ม ฝา่ ยผชู้ มุ นมุ เสอื้ แดงทงั้ ในกรงุ เทพฯ และตา่ งจงั หวดั ตา่ งถกู จบั กมุ ดําเนินคดีอย่างกว้างขวาง ถูกพิพากษาคดีด้วยข้อหาร้ายแรง จํานวนมากถูก ปฏิเสธสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว รวมทั้งถูกละเมิดสิทธิใน กระบวนการยุติธรรมอื่น ๆ หลายประการ ส่วนการดําเนินงานของ คอป. ก็อยู่ในภาวะคลุมเครือ อิหลักอิเหลื่อ ขัดแย้งในตัวเองระหว่างหน้าที่แสวงหาความจริงกับแนวคิด/หลักการดําเนินงาน ที่ไม่ต้องการชี้ว่าใครคือผู้กระทําความผิด4 นอกจากน ี้ คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาต ิ (กสม.) อนั เปน็ องคก์ รที่ มหี นา้ ทพี่ ทิ กั ษป์ กปอ้ งสทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐานของประชาชนจากการใชอ้ าํ นาจทเี่กนิ ขอบเขต ของรัฐ ก็ล้มเหลวในการปฏิบัติหน้าที่ของตนโดยสิ้นเชิง ในระหว่างการล้มตาย บาดเจบ็ ของประชาชนเมอื่ วนั ท ี่ 10 เมษายน ถงึ 19 พฤษภาคม 2553 กสม. ไมเ่คย มีความกล้าหาญที่จะออกมาประณามการใช้กําลังเกินกว่าเหตุของรัฐบาลแม้แต่ ครงั้ เดยี ว ซาํ้ รา้ ย เมอื่ เดอื นกรกฎาคม 2554 รา่ งรายงานของ กสม. กรณเีหตกุ ารณ์ การชมุ นมุ ของ นปช. ท ี่ “หลดุ ” ออกมาหนงึ่ วนั กอ่ น กสม. จะแถลงรายงานดงั กลา่ ว ชชี้ ดั วา่ กสม. เลอื กทจี่ ะปกปอ้ งอาํ นาจรฐั มากกวา่ ปกปอ้ งประชาชนธรรมดา เพราะ สาระของรายงานดังกล่าวมุ่งพิจารณาว่า “การกระทําของผู้ชุมนุมได้ละเมิด สิทธิมนุษยชนหรือไม่” แทนที่จะตั้งคําถามว่า “การกระทําของรัฐได้ละเมิดสิทธิ มนุษยชนของประชาชนหรือไม่” ทั้ง ๆ ที่ข้อเท็จจริงปรากฏให้เห็นว่าระดับของการ ใช้กําลังอาวุธและทหารเข้าจัดการ กับประชาชนนั้นเทียบกันไม่ได้เลยกับอาวุธที่ อ้างว่าผู้ชุมนุมบางส่วนม5ี สอบสวนแห่งท้องที่ที่พบศพนั้น เพื่อดําเนินการชันสูตรพลิกศพ ตามประมวลกฎหมายวิธี พจิ ารณาความอาญา มาตรา 150 ; เมอื่ มกี ารเปลยี่ นแปลงรฐั บาลใหมใ่นกลางป ี2554 แลว้ คดี ผเู้สยี ชวี ติ จากเหตกุ ารณ ์เม.ย. - พ.ค. 53 จงึ จะมคี วามกา้ วหนา้ กระทงั่ มหี ลายคดที กี่ ระบวนการ ไปถึงขั้นไต่สวนการตายบนชั้นศาลอยู่ในขณะนี้. 4 คอป. ระบไุ วใ้น “หลกั การ ปรชั ญา และแนวคดิ ” ในการดาํ เนนิ งานของตนชดั เจนวา่ “คอป. ไมใ่ช่องค์กรดา้ นตุลาการหรือกระบวนการยุติธรรมที่ถูกแต่งตั้งขึ้นมาเพอื่ ตัดสินคดีหรือชี้ว่าใคร ถกู ใครผดิ สมควรตอ้ งถกู ลงโทษทางกฎหมายหรอื ไม”่ ด ู “รายงานความคบื หนา้ คณะกรรมการ อสิ ระตรวจสอบและคน้ หาความจรงิ เพอื่ การปรองดองแหง่ ชาต ิ (คอป.) ครงั้ ท ี่1 (17 กรกฎาคม 2553 - 16 มกราคม 2554),” เผยแพร่เมื่อเดือนเมษายน 2554, หน้า 4. 5 ดูรายละเอียดและข้อวิจารณ์ใน “อนุกรรมการสิทธิฯ ส่งบันทึกถึง ‘อมรา พงศาพิชญ์’ - แนะ พิจารณาร่างรายงาน กสม. ให้รอบคอบก่อนเผยแพร่,” ประชาไท, วันที่ 9 กรกฎาคม 2554, http://prachatai.com/journal/2011/07/35945 (สืบค้นวันที่ 20 มิถุนายน 2555). 12 เสียงจากเหยื่อ “ความจริงเพื่อความยุติธรรม” ความไมเ่ชอื่ มนั่ ในความเปน็ กลางของ กสม. และ คอป. วา่ จะทาํ หนา้ ทคี่ นื ความยุติธรรมให้แก่เหยื่อในเหตุการณ์สลายการชุมนุมปี 2553 ได้อย่างแท้จริงนั้น ทําให้กลุ่มคนหนุ่มสาวดังกล่าวมาพูดคุยแลกเปลี่ยนเพื่อขอความร่วมมือกับ นักวิชาการกลุ่มสันติประชาธรรม ผลของการพูดคุยนั้นได้นําไปสู่การจัดตั้ง ศปช. เพื่อทําหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูลหลักฐานในเหตุการณ์ความรุนแรง ด้วยความหวัง ว่า ในอนาคตเม่ือสังคมไทยมีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ข้อมูลเหล่านี้จะมี ประโยชน์ต่อการคืนความยุติธรรมให้แก่เหยื่อ และนําผู้ที่เกี่ยวข้องกับการตายมา ลงโทษได้ในที่สุด ฉะนั้น ภารกิจของ ศปช. จึงเสมือนการทํางานคู่ขนานไปกับ คอป. ในการเก็บรวบรวมข้อเท็จจริงกรณีการสลายการชุมนุมเดือน เม.ย. - พ.ค. 2553 โดย ศปช. ได้แถลงเปิดตัวต่อสาธารณะอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์ ท่าพระจันทร์ เมื่อได้จุดมุ่งหมายร่วมกัน พวกเราได้ช่วยกันหาเงินบริจาคสําหรับเป็น เงนิ เดอื นเจา้ หนา้ ทขี่ อง ศปช. และสาํ หรบั การเดนิ ทางเกบ็ ขอ้ มลู ทงั้ ในกรงุ เทพฯ และ ตา่ งจงั หวดั บางชว่ งเวลาเจา้ หนา้ ทขี่ อง ศปช. ม ี 5 - 6 คน บางชว่ งมเีพยี ง 2 - 3 คน บางคนทําเต็มเวลา บางคนทําครึ่งเวลา ขึ้นกับภาระงานและสภาพการเงินของ ศปช. ในแต่ละช่วงเวลา บางคนแม้จะไม่ได้รับค่าตอบแทนจาก ศปช. แล้ว แต่ก็ ยังทํางานให้ ศปช. ต่อไป ส่วนนักวิชาการที่มาช่วยงานของ ศปช. นั้น ไม่มีใคร ได้รับเงินเดือนค่าจ้างแต่ประการใด เสียงจากเหยื่อ ประเดน็ สาํ คญั ทพี่ วกเราเหน็ รว่ มกนั วา่ ศปช. จะตอ้ งเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และ การวิเคราะห์ไว้ในรายงานฉบับน ี้ ได้แก่ (1) เหตุการณ์ความรุนแรงในจุดต่าง ๆ ที่สําคัญระหว่างวันที่ 10 เมษายน - 19 พฤษภาคม 2553 (2) รายชื่อของผู้เสียชีวิต ลักษณะและสาเหตุที่ทําให้เสียชีวิต (3) การจบั กมุ ดาํ เนนิ คดผี ชู้ มุ นมุ ทงั้ ในกรงุ เทพฯ และตา่ งจงั หวดั ตลอด จนปัญหากระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวเนื่อง (4) วิเคราะห์ขั้นตอน เป้าหมาย วิธีการใช้ความรุนแรงของรัฐว่าเป็น สิ่งที่เกินกว่าเหตุและละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนหรือไม่ อย่างไร (5) รวบรวมและคดั สรรพยานหลกั ฐานทสี่ าํ คญั เชน่ ปากคาํ พยานใน ความจริงเพื่อความยุติธรรม 13 เหตุการณ์ คลิปวีดิทัศน์ และเอกสารราชการ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ใช้ ประโยชน์ต่อไป อยา่ งไรกด็ ี ดว้ ยขอ้ จาํ กดั ดา้ นงบประมาณและกาํ ลงั คน รวมทงั้ เงอื่ นไขการ ทํางานที่ต้องเก็บข้อมูลภายใต้บรรยากาศทางการเมืองที่เต็มไปด้วยความขัดแย้ง และความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน ทําให้ ศปช. ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลความ รุนแรงได้ทุกกรณี เช่น เราไม่มีรายชื่อของผู้บาดเจ็บทั้งหมด เราไม่สามารถให้ รายละเอียดของการเสียชีวิตได้ครบทุกราย ประการสําคัญ เมื่อเราไม่ได้เป็น หน่วยงานในสังกัดของรัฐ เราจึงมีข้อจํากัดไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน รัฐได้ ดังนั้น ข้อมูลส่วนใหญ่ของ ศปช. จึงมาจากการสัมภาษณ์เหยื่อและพยาน ที่อยู่ในเหตุการณ์ รายงานข่าว ภาพถ่าย และคลิปวีดิทัศน์ต่าง ๆ แล้วนําข้อมูล เหลา่ นมี้ าวเิคราะหเ์ชอื่ มโยงกนั เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดเ้หน็ ภาพความรนุ แรงตา่ ง ๆ ได้ ชัดเจนยิ่งขึ้น ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่า จุดเด่นของรายงานฉบับน้ีก็คือ เป็นรายงานที่ สะทอ้ นเสยี งและมมุ มองของฝา่ ยประชาชนและผทู้ ตี่ กเปน็ เหยอื่ ของการปราบปราม ในเดอื นเมษายน - พฤษภาคม 2553 สว่ นกรณผี เู้สยี ชวี ติ ทเี่ปน็ เจา้ หนา้ ทรี่ ฐั นนั้ ศปช. ยืนยันว่า รัฐบาลและหน่วยงานเกี่ยวข้องมีภาระที่ต้องเร่งสืบสวนสอบสวนและ ดําเนินการหา ตัวผู้กระทําผิดให้ได้โดยเร็วที่สุด เช่นเดียวกับกรณีการเสียชีวิตของ พลเรือน ใครรุนแรง? ใครทําเกินกว่าเหต?ุ การใช้กําลังทหารสลายการชุมนุมของ นปช. โดยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ระหว่างวันที่ 10 เมษายน ถึง 19 พฤษภาคม 2553 ถือเป็นการ ปราบปรามการชมุ นมุ ทรี่ นุ แรงมากทสี่ ดุ ในประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ทงั้ ในแงก่ ารใชก้ าํ ลงั ของฝ่ายรัฐ ซึ่งมีการระดมกําลังทหารเข้าสู่กรุงเทพฯ ถึงกว่า 50,000 ราย และใช้ กระสนุ จรงิ กวา่ 100,000 นดั ในจาํ นวนนเี้ปน็ กระสนุ สาํ หรบั การซมุ่ ยงิ มากกวา่ 2,000 นัด6 และในแง่ของความสูญเสียต่อชีวิต ซึ่งมีผู้เสียชีวิตถึง 94 ราย ในจํานวนนี้ 6 เปน็ ขอ้ มลู ท ี่พ.ต.ท. สมชาย เพศประเสรฐิ ส.ส. พรรคเพอื่ ไทย และประธานคณะกรรมาธกิ าร การทหาร สภาผู้แทนราษฎร นํามาแถลงเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2554 ที่รัฐสภา ดู “จตุพรดวล เทือก แดงเดือดชุมนุมวันนี้ครึ่งแสน,” ข่าวสด, วันที่ 19 มีนาคม 2554; รายงานพิเศษเรื่อง “ตรวจพลหลังศึกอภิปรายกระสุน - เสื้อแดง - แตงโม,” มติชนสุดสัปดาห์, ปีที่ 31 ฉบับที่ 1597 14 เสียงจากเหยื่อ “ความจริงเพื่อความยุติธรรม” เป็นเจ้าหน้าที่รัฐ 10 ราย เป็นพลเรือนทั่วไป 76 ราย อาสากู้ชีพ/พยาบาล 6 ราย ผู้สื่อข่าว 2 ราย (หากนับเฉพาะพลเรือน อาสากู้ชีพ/พยาบาล และผู้สื่อข่าว ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์สลายการชุมนุมเมื่อวันที่ 10 เมษายน และระหว่างวันที่ 13 - 19 พฤษภาคม จะมีทั้งหมด 83 ราย)7 และผู้บาดเจ็บไม่น้อยกว่า 1,400 ราย ต่อความรุนแรงที่เกิดขึ้นนั้น รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ไม่เคยยอมรับว่าตนต้อง รับผิดชอบต่อความสูญเสียแม้แต่กรณีเดียว รัฐบาลและศูนย์อํานวยการแก้ไข สถานการณฉ์ กุ เฉนิ (ศอฉ.) พยายามตอกยาํ้ วา่ แกนนาํ ของแนวรว่ มประชาธปิ ไตย ต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เป็นฝ่ายปฏิเสธการเจรจาเพื่อยุติปัญหาอย่าง สนั ตวิ ธิ ี ผชู้ ุมนมุ มกี องกาํ ลงั ตดิ อาวธุ ชายชุดดาํ เป็นผกู้ อ่ ความรนุ แรง และมักพดู ราวกับว่าความตายและบาดเจ็บที่เกิดขึ้นล้วนเป็นฝีมือของคนเสื้อแดงฆ่ากันเอง เพ่ือสร้างสถานการณ์ โดยเฉพาะการตายเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2553 ซํ้าร้ายยัง ตอกยํ้าว่าการชุมนุมของคนเสื้อแดงเป็น “การก่อการร้าย” จนทําให้สังคมเข้าใจว่า ผู้ชุมนุมคนเสื้อแดงส่วนใหญ่เป็นผู้ก่อการร้าย แต่ในทัศนะของ ศปช. ข้อกล่าวหา เหล่านี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับแผนการใช้กําลังเข้าสลายการ ชุมนุมของ นปช. และเต็มไปด้วยความลวงมากมาย กล่าวคือ • รัฐบาลสามารถแสดงหลักฐานการปรากฏตัวของชายชุดดําได้แค่ท่ี ส่แี ยกคอกวัวในคืนวันท่ ี 10 เมษายนเท่าน้นั แต่ ไม่ สามารถยืนยันได้ ว่าชายชุดดําเก่ียวข้องกับความรุนแรงในท่ีอ่ืน ๆ ประการสําคัญ เม่ือ ตรวจสอบอย่างละเอียด ศปช. พบว่า การเสียชีวิตและบาดเจ็บของ ผ้ชู ุมนุมเม่อื วันท่ ี 10 เมษายน เกิดข้นึ ต้งั แต่ช่วงบ่ายนับแต่รัฐบาลได้เร่มิ แผนปฏิบัติการ “ขอคืนพ้นื ท่”ี และการเสียชีวิตของผ้ชู ุมนุมบริเวณส่แี ยก (25 - 31 มีนาคม 2554), หน้า 14, 16; “‘ตัวเลขเป๊ะๆ หลุดมาได้อย่างไร’ เสียงบ่นจาก ‘พล.อ. ดาว์พงษ์’ กรณียอดเบิกจ่ายกระสุน ‘พฤษภามหาโหด’,” มติชนออนไลน์, วันที่ 25 มีนาคม 2554, http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1301039135&grpid=no&catid &subcatid. 7 ตวั เลขผเู้สยี ชวี ติ ดงั กลา่ วมาจากฐานขอ้ มลู ของ ศปช. ณ เดอื นกรกฎาคม 2555 โดยนบั เฉพาะ ความสูญเสียในช่วงเวลาตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน จนถึง 19 พฤษภาคม 2553 และรวมถึง ผู้ได้รับบาดเจ็บจากช่วงเวลาดังกล่าวแล้วมาเสียชีวิตในภายหลังด้วย ทั้งนี้ ศปช. นับกรณีของ พล.ต. ขัตติยะ สวัสดิผล ว่าเป็นการตายของพลเรือน เนื่องจากเป็นผู้ร่วมชุมนุมคนหนึ่ง ดู รายละเอียดเพิ่มเติมในบทที่ 4 “เชิงอรรถความตายจากการสลายการชุมนุมเมษา - พฤษภา 2553” และบทที่ 6 “บทวิเคราะห์การใช้กําลังเกินกว่าเหตุในการสลายการชุมนุม”. ความจริงเพื่อความยุติธรรม 15