sf 26 , 3 3 SJ sf 2 0 D ? ( Sf H eJ) . (3 m u!iaa 'lricj ? jrieAff mdcnitanuafl 3 S emsgamsm - 2491 2500 mfoia ttn ' acnaxmm * sonmt/ md 5 ffomn uaamy >aim1 nmiliialnon11fl11jsmvjifuimjt)acm^inm11 2491- S3O0 nnilQiS 2175 in=uimimiiJrjiWiJgiPifQ^iiluu nuo^m^vtHHuyiTloni^ripJuufis^ni)mipmuf iwuiniiniulflmTHnmffmT infilid “ " UBJ fiitUB'iiwg^fnifninifvrsijiJ-js'MTS ifJ nutnau 2:>4(J tamamcu'mjivmufnnuD<niaaimiJMetli.-fiijiirtjfinu % llltfta £1 T1fl wiuntnjiJBijaB'uiJTTifnii HuijfeiriuutmJ^mn iiimoibLimipfmtffmi-ffTffflSna^iiqifnfftnpSiiirc; ^aufiaonuiouiaalu fl'imjirnrn3uwliftUT^rj3unflirlUfuuin ^uuuaiJuiirtUomiiinsirii YWL awniminiHUA 4nhulwydluronilHidu *£!iiUnJ-|iTnfinirTpininfnwsiinfiljliiRflqiinvyomti^M(fFeSniKfniiDuwnfslliwnTuotmini3i*Bin nqufiiin lunisulBalingnymi^w 2490 BITU “ijiiryiwfl*1ujTuafiUfl:iiKrL!(t4}hflcfaniFHifolfi ^ ltimRi^cy’iltitinnttsflfTimtf uimnoiffn nsqiJ iJia rmrtiifaialiiin"inom>¥iirniiiiiiyiyIIQPIin frtucfjffifmf iMnOiiunliu . 1 rfiiTrmiJwvhtfirnny llliTOj [insvprsahytifWrrnri'dn-'VlaijrMHi, I.-SA- ; iir*dualjKl:W.hi>nJ»1Asianami AfricanSiuril'fi, . I:mvi'rsrlynf Kyulo; irnrcri!Sni4(hr-B¥l Asian rtf11HflVilU04FIlull11if!ill]Lrt1JUIrfU0 I.SuUTUlTHltjl11 biuttortfi.Untvmkftorkywln. fitpan il^nngm5riini4miiij04UrtE^3fluorminootii4lu Ta.^jMmmniifiuislwiinluwfninfillilngnflfnmiWutgiiiSHif?lU47flrU»irrtiijumsTifltigEiNiii If J4lVu w1BUUlliU THlll'Ml'S1Unli)11flJtLlfTH11f|it) mHUHuisjihrTsyflu wfl#UWJUIFLUFTUTTMBIIN nu "flfnwui" fifhhiWoaijfljdnudnuunsmart rfwtJfurrniipjrGiU?)(cid:127)iiiiui.svrinnluCntiJTIWn/,jjjzrrJio5iJiii/'ij,jnJmi/njprPul7J?i*i aoiJih{mtriii?idiurnai iimiJuenummit)inTsme4 ftjs<1jii\nnljji1iikiifjw.Bmu£4*h(iimiu.za&c*lu flfHfrrtiiFMprff. dWwfJTiTJR?3irwnwflfli.-jnijj'j nasLLsrMBnluuQi^mjfl^a m'rmm'wiiniEU '‘FfhHtJi" lijfnu'mnii'UVadijiiJ^fHtiuHimiiu Whiqnfcrii ffer^ri i?ii«U7 jmwarfnNmvU - 0vimopia^ pJia^imaualil fxivmj iirriTfnurafl?249Jf 2S0U aminn,1iki: i MB4 rmmiuTiwnu nmiminiiiinInB^irttf^iiiiiyqpLBfi'IMI^4Iitau ffnRUi4iiiiintinrlVhifiuiiB4d1tmtiimsmjlu rtjl'vju il,tfijfiff.itmuniri£i3L{Mfl'*iBi In n ZJil-Sriiiir lffiirtmiirini uiniolinlu 4iuii30inii)Jiia4W]fui 11fl11^7UiTIBnUJ^Th^T3J-?llH mJflfmiNlllrliliiaiJmiiJ nnrtrini “nnfiui"lumflLfiiCHimrnj euTHLiiuiln :lhrm ff1n\juvf saw 9?i-6iB-7fl«7-eft T SL BIW 'Ju^^snn s4». BB I 6 7 «17 B ft 1 yr SuYilmjilflEramjuivfttfiyynHi flaeiaifomj waeihi amjeiijlfn 2.5 fi.ff. iS48 iSflflKStiVirifofflU - llluEityaniJCU (Bald Eagle, White Head Eagle, American Eagle) 'UQJ itasmfftu Ldoflfn^ Llhlflfr fl.ffL 1782 TOMiaSUUnTErMIJ (Great Seal of the United States) «rn uwunia uasaLaflerJuiij Snnslumiiju i wininiiwaiiuiiUBjittiflisliifliduiviimi uan inil inQiJuimEfiynuiilfuiif ! ^ ? )4tm ]*i tiai uasmimbtmuiiimiwa 'tfiittM auHmmrm iflu^anymeu nifs 1mfii|u ^lfln 0iuvn0iuiti0tJi4£ 0Lu fTu ' ^ n tfhehn uaymyniimis mi m^LWQo'lvmmejT.Rg’st'UJjTjTamjaosmgQLajfm 2491-2500 1 cusiAia H UMOMEffD mjVlul 2563 % mmo florin uasmuiSun ? 4 U 2491-2500 dJjma Iwi V ^ ^ munfiuvfflitlitnfTu wuwfmn l , 2563 lioaau iitnu 3,ooo mu nm 500 UTKI iJmnta mu qiinu 500 1101 600 uin mniuiflijiumnails^bwildfo (iJnttoij) 978-616 7667-88-1 * siumnay srimjifto ilmm - ia iw? ? ( ) 978 616-7667-89-8 $ wn 0waiii iiJ??flii<unisj?jaj0i< ?i0034fliiii4ifiH > 'll 4 4 mm Isifij . mftn tfnAui uasv<qp3i4m ; m?tua<ilvitimEjl0?cmt)ulamifi^tmyj0iu1fn lJneaiO fliiflEnmi 2491-2500 ( .-imniji : , 2563. vmh sroiumniJ 416 .~ ( ). i.linti--ni?iufNuasm?iJnfl?94. 2.1n0-iJ?^TiSfnanl 320.9593 UTjanSmiimnj fbaqa ^invici uufhim minnBfm otyim na^uiiontfm 'Guivm tntrqci ut|ua nssiwenniml iiwn oini'RH'uai^'u rfonu 5ruerna fiffimamfi ^ mimtftfiloiiVm uqua m^ efanw ? ivn nennieiu 7imqa + enana unuTumu sinwa uqua nisi miiiWu ^ aanuimiln ihsm fllnutm % nJmu mmau iuWfm ffaau kernel ?f* u 4 hiJnfiuHfliLfloinu ( ' miUufn mmmuo ^vneivmviiil si nmiifl' 28 ermaunmzflra -i liooo flOlimtUlSmi Ivnmil 0-2965-6430 ^iH'uio/uqjS-tttmn : 5?in?£T4 Wunjitus im 5nrmf» 0-2965-6414 tHUfl : [email protected] nu'Wfl ; www.sameskybooks.net wumi : uliSVi mmim iiftVi fairmhu aiEmiififiVlino IvnffVm : 0-2225-9536-9 สารบัญ , คำนำสำ นกพิมท์ (9) ' คำน่าเสนอ (14) คำน่าผู้เขียน (29) บทที่ 1 กราวพากย์ : ตัวตนและประวัติศาสตร์นิพนธใทยในยุคสงครามเย็น 3 บทที่ 2 จากสันติภาพสู่ความขัดนยย้งัง: การฌิองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง 23 บทที่ 3 รัฐประหาร 2490 : การล่มสลายของกลุ่มปริดี 59 และการแตกร้าวของพันธมิตรใหม่ บททJ 4 สู่ภาวะกึ่งอาณานิคมในยุคสงครามเย็น ะ การหันเข้าหาสหรัฐอเมริกา 85 กับการปราบปรามศัตรูทางการเมือง บทที 5 ถนน,ทุกสายมุ่งสู่สหรัฐอเมริกา: การสร้างความแข็งแกร่งให้กลุ่มทหาร 127 และกลุ่มตำรวจไทย บทที 6 ใกล้ยามเมื่อแสงทองส่อง: สหรัฐฯกับแผนสงครามจิตวิทยา 149 ต่อต้านคอมมิวนิสต์ บทท 7 ถอยห่างจากพญาอินทรี: นโยบายเปีนกลางและการเปิดประตู 169 . สู่ประชาธิปไตยในฐานะทางออกใหม่ของจอมพลป พิบูลสงคราม บทที 8 ยามเมื่อลมพัดหวน: ความพยายามหวนคืนของมิตรเก่า 209 - ! . “จอมพล ป ป ด’ี บทที 9 การก่อตัวของ “ไตรภาคี” : ภาวะกึ่งอาณานิคม 237 และการล่มสลายของประชาธิปไตยไทย บทท 10 บทสรุป 265 ประทฅผู้เขียน 273 บรรณานุกรม 275 นามานุกรม 339 ดรรชนี 365 ( * ) คำนำสำนักพิมพ์ ' เป็นจุดเปสึ่ยนของการเมืองไทยสมัยใหม่ที่หันเหออกจากการ ร้ซิประหาร 2490 ปฏิวัติสยาม 24 มิถุนายน 2475 โดยคณะราษฎร ดังความคดของปรดี พนมยงค์ มันสมองของคณะราษฎรที่บอกว่ายุคสมัยของคณะราษฎรนั้นสิ่นสุดเมี่อมีการรัฐประหาร 8 พฤศจิคายน 2490 ดังนั้น สิ่งที่เกิดขนหลังจากนั้นไม่ใช่ความรับผ๊ดชอบของ คณะราษฎรอีกต่อไป1 ชิ้นบุกเบิกของสุชิน งานศึกษาการรัฐประหาร 2490 ตันติกุล มีข้อเสนอคล้าย กับความคิดของปรีดีศึอชี้ว่า “รัฐประหาร 2490 เป็นจุดหัวเลี้ยวหัวต่อของการ 1 ' เปลี่ยนแปลงถ่ายทอดอำนาจทางการเมืองจากคณะราษฎรมาสู่คณะรัฐประหาร ซAงก<=£ คือกลุ่มทหารบกนั่นเอง”2 งานศึกษาชิ้นสำคัญของท' ต่อมา กษ์ เฉลมเดียรณ การเมืองระบบพ่อชุน * อุปถัมภ์แบบเผด็จการ เป็ดประเด็นว่ารัฐประหาร 2490 เป็นการเปิดยุคการเมือง เ สัมภาษณ์พิเศบ ฯพณฯ ปรค พนมยงค์ ในโอก!๙ครบรอบ 48 ปีแห'งทารเปที่ธเนแปตงการ ปกครอง 24 มืดนายน 2523 ที่เมืองอองโฅปี ชานทJงปารีff โดยสหภ?พเพื่อสิทธิเสรีภาพข่อง 7 ประชาชน (กรูงเทพฯ ะ เกษมการพิมYJ, 2523) สุชิน คันฅืกุล รฐประหาร พ ศ 2490 (นครหลวง : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, , . . 2515), 142. y 3 ทกษ์ เฉลิมเดียรณ, การเมืองระบบฟอ นชุปถมก์แบบเผด็จการ, แปล พรรณ ฉัตรพลรักษ์ และ ! ม.ร.ว. ประกายทอง สี สุข (กรูงเทพฯ : มหาวิทยาลยธรรมศาสตร์, 2526). - สามเล้า ที่แม้จอมพลป พิบูลสงครามจะเป็นนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง (2491 2500) . - แต่ไม่มีอำนาจมากเท่าครั้งเป็นนายกรัฐมนตรีสมัยแรก (2481 2487) เพราะต้องรักษา ดุลยภาพทางอำนาจระหว่างสองขุนศึก คือค่ายสื่เสาเทเวศน์ที่นำโดยจอมพลสฤษด ธนะรัชด์ กับค่ายราชครูที่นำโดยจอมพลผิน ชุณหะวัณ และพล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ การช่วงชงอำนาจจบลงด้วยชัยชนะของสฤษดิ้ ธนะรัชด์ ในการรัฐประหาร 2500 บทความชิ้นสั้นๆ โดยสมคักดิ้ ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรก อย่างไรก็ตาม เจียมธีรสกุล ในปิ 2539 โต้แย้งว่าเราไม่อาจสรุปทศวรรษดังกล่าวว่าเป็นเรึ่องการเมืองสามเส้าเท่านั้น คณะรัฐประหารยังต้องขับเคี่ยวกับพลังการเมืองที่นักวิชาการทั่วไปเรียกว่า “อนุรักษ์นิยม’' (Conservatives) หรีอ “นิยมเจ้า” (Royalists) พลังดังกล่าวมี รากฐานที่กว้างขวางถึกซึ้งในสังคมไทย แต่แสดงออกต่อสาธารณะในขณะนั้นที่สำคัญ โดยผ่านบทบาทของพรรคประชาธิป๋ตย์ซึ่งคุมรัฐสภาอย.ู่ .. ความจริงการเมืองไทยปลายทศวรรษ ต้องถึอว่าเป็นการเมืองที่มีผู้เล่น 2490 สำคัญ 5 กลุ่มครึ่ง คือ นอกจากจอมพลป. พล.ต.อ. เผ่า และจอมพลสฤษดึ๋แล้ว ยังมีสองกลุ่มสำคัญคือ พลังอนุรักษ์นิยมที่กล่าวดึงข้างต้น และพลังฝ่ายซ้ายที่มี พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) เป็นแกน ส่วนที่เรียกว่า “ครึ่งกลุ่ม,' คือปรีคึ พนมยงค์ นั่นเอง ที่เป็นเพียง “ครึ่ง” เพราะมีกำลังและบทบาทไม่มากเท่า กลุ่มอื่น และดูเหมือนจะเป็นฝ่ายถูกดึงเข้าไปเล่นด้วยมากกว่าโดดเข้าไปเอง4 ' สมคักด1ิ้โม่ไต้ใชัคำว่า “สถาบันกษัตริย์” ตรงๆ อาจเพราะยังมิได้มีเอกสาร 1 , หลักฐานสนับสนุนเพียงพอ แต่ก็ได้สื่อเป็นนัยระหว่างบรรทัดให้คนอ่านฟ้าใจว่าสื่งที่ อยู่เบื้องหลังพลังอนุรักษนิยม ซึ่งถือเป็นผู้เล่นสำคัญของการเมืองไทยในทศวรรษ 2490 นั้นหมายถืง “คักดีนา" นั่นเอง นอกจากนั้น ทักษ์ เฉลิมเดียรณ ชิ้ให้เห็นว่า เมื่อสฤษดี้ ธนะรัชฅ์ ได้รับ สฤษดละทิ้งมรดกคณะราษฎรทั้งหมด ขัยชนะภายหลังรัฐประหาร 2500 แล้วหันไป โปรโมทบทบาทของสถาบันกษัตริย์ดังที่เราคุ้นเคยในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ธงขัย วินิจจะทูล กลับตั้งคำถามกับพล็อตหลักของทักษ์ เฉลิม- เพิ่งถูกพินท)ุ เดียรณ ว่าสถาบันกษัตริย์ที่หมดบทบาทไปหลัง 2475 หลังรัฐประหาร 4 สมศักดึ้ เจียมธีรสกุล, "ปรืดื พนมยงค'’, จอมพลป., กรณีสวรรคต และรัฐประหาร 2500,” ใน ประวัตศาสตร์ที่เทงItร้าง (กรงเทพฯ : 6 ตุลารำถึก, 2544), 31-32 (พิมพ์ครั้งแรกใน กรุงเทพธุรกิจ . 17 พฤษภาคม 2539) ( 10 ) โดยธงชัยนำเสนอความเห็นแย้งนี้ครั้งแรกในปาฐกถา 2500 จริงหรือ 14 ตุลา ประจำ ปี 2548 หัวข้อ “ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบมหลัง 14 ตุลา” ไว’ว่า รัฐประหาร 2490 เป็นการปีดฉากคณะราษฎร นักประวัติศาสตร์มักจะให้ความ สนใจกับบทบาทของผู้นำร์นใหม่ในกองทัพบกอย่างผิน ชุณหะวัณ และเผ่า ศรียานนท้ รัฐประหารครั้งนี้เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างทหารมกกับฝ่าย ข้อเท็จจริงก็คือ กษัตริย์นิยมซึ่งมีบทบาทมากมายเดีมไปหมด อาจจัดได้ว่าปี 2490-94 เป็นยุคฟินฟูของกษัตริย์นิยม หลักฐานชัดเจนประการ หนึ่งคือ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 ที่โปรเข้าอย่างไม่เคยมีมาก่อน เป็นรัฐธรรมนูญฉบับ แรกที่ระบุว่าประเทศไทยเป็นประชาธิปไตยมีพระมหากษัดริย์เป็นประมุข และเป็น ฉบับแรกที่ระบุว่าผู้ใดจะฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ไม่ได้ และให้อำนาจพระมหากษ*รติ 'ร?>ย๙' อีกหลายประการ เช่น ในการเลือกและแต่งตั้งสมาชิกๅฒิสภา ในการประกาศ และในการอนุมัติเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล ภาวะจุกเฉิน เป็นด้น vi ! นักประวัติศาสตร1์ ทยมักเสนอว่า การ นฟูสถาบันกษัตริย์เกิดขึ้นในยุคสฤษด แต่แห้ที่จริงเรึ่มในช่วงนี้เอมั ในปื 2552 ถ่พู้พล ใจจริง ทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเรื่อง “การเมืองไทยสมัย รัฐบาลจอมพล ป พิบูลสงคราม ภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา (พ ศ 2491 . . . - 2500)”b ซึ่งได้รับการพิจารณาว่าอยู่ในระดับดีมาก หนังสือ ขุนสัก ศักดินา และ พล!ุ ารนทร:ี การเมืองไทยกายใต้ระเปียมโลกของลหรัรูอเมรีกา 2491-2500 โดย J J ว ่ ” ” , ริ " ริริ , m ณัจพล ใจจริง ทอย1ู่ในมือผ5ู้อ่านขณะน ณัฐพลเรียบเรียงพัฒนาให้สมบูรณขนจาก วิทยานิพนธ์เล่มดังกล่าว หากย้อนกลับไปอ่านทัศนะของสมศักดิ้ที่ว่าทศวรรษ 2490 ของการเมืองไทย มีผู้เล่น 5 กลุ่มครึ่ง ผู้อ่านจะพบว่า ขุนดิก ศักดินา และพญาอินทรี ชี้ให้เห็นว่าที่จริง แล้วมี 6 กลุ่มครึ่ง แถมกลุ่มที่ 6 คือ “พญาอินทรี” ซึ่งก็คือบทบาทของสหรัฐอเมริกา 5 ธงชัย วินิจจะถูล “ข้ามให้พ้นประชาธืปไตยแบบหลัง 14 ตุลา," ใน ประชาโ ปไฅพี่ปีกษดรซ์ / ! อย่เหนือการน อง (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556) : 29-63. . 6 ณ์ฐพล ไจจวิง, “การเนืองไทยสมัยรีฐบาลจอมพลป พิบุลสงคราม ภายได้ระเบยบไลกของ สหรีฐอเมรีกา (พ.ศ. 2491-2500) " (วิทยานิพนธ์รฐศาสฅรคุษฏีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 . 2552) ( I I )