ebook img

TCPS 319-2547: PICKLED BEAN SPROUT PDF

2004·0.48 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 319-2547: PICKLED BEAN SPROUT

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 319-2547 (2004) (Thai): PICKLED BEAN SPROUT มผช.๓๑๙/๒๕๔๗ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ถั่วงอกดอง ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะถั่วงอกดองที่บรรจุในภาชนะบรรจุ ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปนี้ ๒.๑ ถวั่ งอกดอง หมายถงึ ผลติ ภณั ฑท ไี่ ดจ ากการนาํ ถวั่ งอกทไี่ ดจ ากการเพาะถวั่ งอกชนดิ ทเี่ หมาะสม เชน ถวั่ เขยี ว ถวั่ ลสิ ง อาจนาํ มาลวกกอ น แลว ดองในนา้ํ ดองหรอื นา้ํ ปรงุ รสในระยะเวลาทเี่ หมาะสม ๒.๒ นา้ํ ดอง หมายถงึ ของเหลวทปี่ ระกอบดว ยเกลอื และอาจมกี ารเตมิ สารชว ยทาํ ใหก รอบ เชน แคลเซยี มคลอไรด แคลเซียมแลกเทต ๒.๓ น้ําปรุงรส หมายถึง ของเหลวที่เตรียมจากสวนประกอบตางๆ เชน เกลือ น้ําตาล น้ําซาวขาว น้ําสมสายชู และอาจมกี ารเตมิ สารชวยทําใหกรอบ ๒.๔ นา้ํ หนกั เนอื้ (drained weight) หมายถงึ นา้ํ หนกั ของเนอื้ ถวั่ งอกดองในภาชนะบรรจทุ ไี่ มร วมสว นทเี่ ปน นา้ํ ดอง หรอื นา้ํ ปรงุ รส ๓. คุณลักษณะที่ตองการ ๓.๑ ลักษณะทั่วไป ตอ งมลี กั ษณะทดี่ ตี ามธรรมชาติของถั่วงอกที่ใช  อาจมจี าํ นวนชนิ้ ของถวั่ งอกทมี่ ตี าํ หนจิ ากการตดั แตง ไดบ า ง เลก็ นอ ย น้ําดองหรือน้ําปรุงรสตองไมมีฝาขาวหรือฟองอันเนื่องมาจากการหมัก ๓.๒ สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของสวนประกอบที่ใช ไมคล้ํา ๓.๓ กลิ่นรส ตอ งมกี ลนิ่ รสทดี่ ตี ามธรรมชาตขิ องสว นประกอบทใี่ ช  ปราศจากกลนิ่ รสอนื่ ทไี่ มพ งึ ประสงค - ๑ - มผช.๓๑๙/๒๕๔๗ ๓.๔ ลักษณะเนื้อ ตอ งกรอบพอควร ไมน มิ่ เละ เมื่อตรวจสอบโดยวิธีใหคะแนนตามขอ ๘.๑ แลว ตองไดคะแนนเฉลี่ยของแตละลักษณะจากผูตรวจสอบทุกคน ไมนอยกวา ๓ คะแนน และไมมีลักษณะใดได ๑ คะแนน จากผูตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง ๓.๕ สิ่งแปลกปลอม ตองไมพบสิ่งแปลกปลอมที่ไมใชสวนประกอบที่ใช เชน เสนผม ขนสัตว ดิน ทราย กรวด ชิ้นสวนหรือ สิ่งปฏิกูลจากสัตว ๓.๖ วัตถุเจือปนอาหาร ๓.๖.๑ หามใชสีสังเคราะหทุกชนิด ๓.๖.๒ หามใชโซเดียมบอเรต (บอแรกซ) ๓.๖.๓ หามใชสารใหความหวานแทนน้ําตาลทุกชนิด ๓.๖.๔ หากมีการใชวัตถุกันเสีย ใหใชตามชนิดและปริมาณที่กฎหมายกําหนด ๓.๖.๕ หากมกี ารใชส ารชว ยทาํ ใหก รอบ ใหใ ชแ คลเซยี มคลอไรด  แคลเซยี มแลกเทต หรอื แคลเซยี มกลโู คเนต อยางใดอยางหนึ่งหรือผสมกัน ตองไมเกิน ๑ ๐๐๐ มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ๓.๗ ความเปนกรด-ดาง ตองไมเกิน ๔. ๐ ๓.๘ จุลินทรีย ๓.๘.๑ จํานวนจุลินทรียทั้งหมด ตองไมเกิน ๑ ๑o๔ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม × ๓.๘.๒ สตาฟโลค็อกคัส ออเรียส ตองไมพบในตัวอยาง ๐.๑ กรัม ๓.๘.๓ เอสเชอริเชีย โคไล โดยวิธีเอ็มพีเอ็น ตองนอยกวา ๓ ตอตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๘.๔ ยีสตและรา ตองไมเกิน ๑๐๐ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม ๔. สขุ ลกั ษณะ ๔.๑ สขุ ลกั ษณะในการทาํ ถวั่ งอกดอง ใหเ ปน ไปตามคาํ แนะนาํ ตามภาคผนวก ก. ๕. การบรรจุ ๕.๑ ใหบรรจุถั่วงอกดองในภาชนะบรรจุที่สะอาด ผนึกไดเรียบรอย สามารถปองกันการรั่วซึมและการปนเปอน จากสงิ่ สกปรกภายนอกได ๕.๒ น้ําหนักเนื้อของถั่วงอกดองในแตละภาชนะบรรจุ ตองไมนอยกวาที่ระบุไวที่ฉลาก - ๒ - มผช.๓๑๙/๒๕๔๗ ๖. เครอื่ งหมายและฉลาก ๖.๑ ที่ภาชนะบรรจุถั่วงอกดองทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียดตอไปนี้ ใหเ หน็ ไดง า ย ชดั เจน (๑) ชอื่ เรยี กผลติ ภณั ฑ  เชน ถวั่ งอกดอง ถวั่ งอกหวั โตดอง (๒) สว นประกอบทสี่ าํ คญั (๓) ชนดิ และปรมิ าณวตั ถเุ จอื ปนอาหาร ถา มกี ารใชว ตั ถกุ นั เสยี ใหร ะบขุ อ ความ “ใชว ตั ถกุ นั เสยี ” (๔) นา้ํ หนกั เนอื้ (๕) วนั เดอื น ปท ที่ าํ และวนั เดอื น ปท หี่ มดอาย ุ หรอื ขอ ความวา “ควรบรโิ ภคกอ น (วนั เดอื น ป) ” (๖) ขอ แนะนาํ ในการเกบ็ รกั ษา เชน ควรเกบ็ รกั ษาไวใ นตเู ยน็ (๗) ชอื่ ผทู าํ หรอื สถานทที่ าํ พรอ มสถานทตี่ งั้ หรอื เครอื่ งหมายการคา ทจี่ ดทะเบยี น ในกรณที ใี่ ชภ าษาตา งประเทศ ตอ งมคี วามหมายตรงกบั ภาษาไทยทกี่ าํ หนดไวข า งตน ๗. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๗.๑ รนุ ในทนี่ ี้ หมายถงึ ถวั่ งอกดองทมี่ สี ว นประกอบเดยี วกนั ทาํ ในระยะเวลาเดียวกัน ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๗.๒.๑ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบสงิ่ แปลกปลอม การบรรจ ุ และเครอื่ งหมายและฉลาก ใหช กั ตวั อยา งโดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี วกนั จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลวทุกตัวอยาง ตองเปนไปตามขอ ๓.๕ ขอ ๕. และขอ ๖. จึงจะถือวาถั่วงอกดองรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป สี กลิ่นรส และลักษณะเนื้อ ใหใ ช ตัวอยางที่ผานการทดสอบตามขอ ๗.๒.๑ แลว จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลว ตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๑ ถึงขอ ๓.๔ จึงจะถือวาถั่วงอกดองรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๓ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบวัตถุเจือปนอาหารและความเปนกรด-ดาง ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๒ หนวยภาชนะบรรจุ นํามาทําเปนตัวอยางรวม เมอื่ ตรวจสอบแลว ตวั อยา งตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๖ และขอ ๓.๗ จงึ จะถอื วา ถวั่ งอกดองรนุ นนั้ เปน ไปตาม เกณฑที่กําหนด ๗.๒.๔ การชกั ตวั อยา งและการยอมรบั สาํ หรบั การทดสอบจลุ นิ ทรยี  ใหช กั ตวั อยา งโดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี วกนั จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจ ุ โดยมนี า้ํ หนกั รวมไมน อ ยกวา ๕๐๐ กรมั กรณตี วั อยา งไมพ อใหช กั ตวั อยา ง เพมิ่ โดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี วกนั ใหไ ดต วั อยา งทมี่ นี า้ํ หนกั รวมตามทกี่ าํ หนด เมอื่ ตรวจสอบแลว ตวั อยา ง ตอ งเปน ไปตามขอ ๓.๘ จงึ จะถอื วา ถวั่ งอกดองรนุ นนั้ เปน ไปตามเกณฑท กี่ าํ หนด ๗.๓ เกณฑตัดสิน ตัวอยางถั่วงอกดองตองเปนไปตามขอ ๗.๒.๑ ขอ ๗.๒.๒ ขอ ๗.๒.๓ และขอ ๗.๒.๔ ทุกขอ จึงจะถือวา ถวั่ งอกดองรนุ นั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ - ๓ - มผช.๓๑๙/๒๕๔๗ ๘. การทดสอบ ๘.๑ การทดสอบลกั ษณะทวั่ ไป ส ี กลนิ่ รส และลกั ษณะเนอื้ ๘.๑.๑ ใหแ ตง ตงั้ คณะผตู รวจสอบ ประกอบดว ยผทู มี่ คี วามชาํ นาญในการตรวจสอบถวั่ งอกดองอยา งนอ ย ๕ คน แตล ะคนจะแยกกนั ตรวจและใหค ะแนนโดยอสิ ระ ๘.๑.๒ เทตวั อยา งถวั่ งอกดองลงในจานกระเบอื้ งสขี าว ตรวจสอบโดยการตรวจพนิ จิ และชมิ ๘.๑.๓ หลกั เกณฑก ารใหค ะแนน ใหเ ปน ไปตามตารางท ี่ ๑ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑการใหคะแนน (ขอ ๘.๑.๓) ระดับการตัดสิน (คะแนน) ลักษณะที่ตรวจสอบ เกณฑที่กําหนด ดีมาก ดี พอใช ตองปรับปรุง ลักษณะทั่วไป ตองมีลักษณะที่ดีตามธรรมชาตขิ องเมลด็ ๔ ๓ ๒ ๑ ถวั่ งอกทใี่ ช  อาจมจี าํ นวนชนิ้ ของถวั่ งอกทมี่ ี ตาํ หนจิ ากการตดั แตง ไดบ า งเลก็ นอ ย นา้ํ ดองหรอื นา้ํ ปรงุ รสตอ งไมม ฝี า ขาวหรอื ฟอง อนั เนอื่ งมาจากการหมกั สี ตอ งมสี ที ดี่ ตี ามธรรมชาตขิ องสว นประกอบ ๔ ๓ ๒ ๑ ทใี่ ช ไมค ลา้ํ กลิ่นรส ตองมีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของสวน ๔ ๓ ๒ ๑ ประกอบทใี่ ช  ปราศจากกลนิ่ รสอนื่ ทไี่ มพ งึ ประสงค ลักษณะเนื้อ ตอ งกรอบพอควร ไมน มิ่ เละ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘.๒ การทดสอบสงิ่ แปลกปลอม ภาชนะบรรจ ุ และเครอื่ งหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ ๘.๓ การทดสอบวัตถุเจือปนอาหาร ความเปนกรด-ดาง และน้ําหนักเนื้อ ใหใ ชว ธิ ที ดสอบตาม AOAC หรอื วธิ ที ดสอบอนื่ ทเี่ ปน ทยี่ อมรบั ๘.๔ การทดสอบจุลินทรีย ใหใ ชว ธิ ที ดสอบตาม AOAC หรอื BAM หรอื วธิ ที ดสอบอนื่ ทเี่ ปน ทยี่ อมรบั - ๔ - มผช.๓๑๙/๒๕๔๗ ภาคผนวก ก. สุขลักษณะ (ขอ ๔.๑) ก.๑ สถานที่ตั้งและอาคารที่ทํา ก.๑.๑ สถานทตี่ งั้ ตวั อาคารและทใี่ กลเ คยี ง อยใู นทที่ จี่ ะไมท าํ ใหผ ลติ ภณั ฑท ที่ าํ เกดิ การปนเปอ นไดง า ย โดย ก.๑.๑.๑ สถานที่ตั้งตัวอาคารและบริเวณโดยรอบ สะอาด ไมมีน้ําขังแฉะและสกปรก ก.๑.๑.๒ อยูหางจากบริเวณหรือสถานที่ที่มีฝุน เขมา ควัน มากผิดปกติ ก.๑.๑.๓ ไมอยูใกลเคียงกับสถานที่นารังเกียจ เชน บริเวณเพาะเลี้ยงสัตว แหลงเก็บหรือกําจัดขยะ ก.๑.๒ อาคารที่ทํามีขนาดเหมาะสม มีการออกแบบและกอสรางในลักษณะที่งายแกการบํารุงรักษา การทํา ความสะอาด และสะดวกในการปฏิบัติงาน โดย ก.๑.๒.๑ พื้น ฝาผนัง และเพดานของอาคารที่ทํา กอสรางดวยวัสดุที่คงทน เรียบ ทําความสะอาด และซอม แซมใหอยูในสภาพที่ดีตลอดเวลา ก.๑.๒.๒ แยกบริเวณที่ทําออกเปนสัดสวน ไมอยูใกลหองสุขา ไมมีสิ่งของที่ไมใชแลวหรือไมเกี่ยวของกับ การทําอยูในบริเวณที่ทํา ก.๑.๒.๓ พื้นที่ปฏิบัติงานไมแออัด มีแสงสวางเพียงพอ และมีการระบายอากาศที่เหมาะสม ก.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณในการทํา ก.๒.๑ ภาชนะหรืออุปกรณในการทําที่สัมผัสกับผลิตภัณฑ ทําจากวัสดุมีผิวเรียบ ไมเปนสนิม ลางทําความ สะอาดไดงาย ก.๒.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใช สะอาด เหมาะสมกับการใชงาน ไมกอใหเกิดการปนเปอน ติดตั้งไดงาย มีปริมาณเพียงพอ รวมทั้งสามารถทําความสะอาดไดงายและทั่วถึง ก.๓ การควบคุมกระบวนการทํา ก.๓.๑ วัตถุดิบและสวนผสมในการทํา สะอาด มีคุณภาพดี มีการลางหรือทําความสะอาดกอนนําไปใช ก.๓.๒ การทาํ การเกบ็ รกั ษา การขนยา ย และการขนสง ใหม กี ารปอ งกนั การปนเปอ นและการเสอื่ มเสยี ของผลติ ภณั ฑ ก.๔ การสุขาภิบาล การบํารุงรักษา และการทําความสะอาด ก.๔.๑ นา้ํ ทใี่ ชล า งทาํ ความสะอาดเครอื่ งมอื เครอื่ งจกั ร อปุ กรณ และมอื ของผทู าํ เปน นา้ํ สะอาดและมปี รมิ าณเพยี งพอ ก.๔.๒ มีวิธีการปองกันและกําจัดสัตวนําเชื้อ แมลงและฝุนผง ไมใหเขาในบริเวณที่ทําตามความเหมาะสม ก.๔.๓ มกี ารกาํ จดั ขยะ สงิ่ สกปรก และนา้ํ ทงิ้ อยา งเหมาะสม เพอื่ ไมก อ ใหเ กดิ การปนเปอ นกลบั ลงสผู ลติ ภณั ฑ ก.๔.๔ สารเคมีที่ใชลางทําความสะอาด และใชกําจัดสัตวนําเชื้อและแมลง ใชในปริมาณที่เหมาะสม และ เก็บแยกจากบริเวณที่ทํา เพื่อไมใหปนเปอนลงสูผลิตภัณฑได ก.๕ บุคลากรและสุขลักษณะของผูทํา ผูทําทุกคน ตองรักษาความสะอาดสวนบุคคลใหดี เชน สวมเสื้อผาที่สะอาด มีผาคลุมผมเพื่อปองกันไมให เสนผมหลนลงในผลิตภัณฑ ไมไวเล็บยาว ลางมือใหสะอาดทุกครั้งกอนปฏิบัติงาน หลังการใชหองสุขา และเมื่อมือสกปรก - ๕ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.