ebook img

TCPS 1225-2549: SAI-AUG PLA (NORTHEN THAI SAUSAGE) PDF

2006·0.49 MB·Thai
Save to my drive
Quick download
Download
Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.

Preview TCPS 1225-2549: SAI-AUG PLA (NORTHEN THAI SAUSAGE)

Kingdom of Thailand ≠ EDICT OF GOVERNMENT ± In order to promote public education and public safety, equal justice for all, a better informed citizenry, the rule of law, world trade and world peace, this legal document is hereby made available on a noncommercial basis, as it is the right of all humans to know and speak the laws that govern them. TCPS 1225-2549 (2006) (Thai): SAI-AUG PLA (NORTHEN THAI SAUSAGE) มผช.๑๒๒๕/๒๕๔๙ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ไสอั่วปลา ๑. ขอบขาย ๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมไสอั่วพรอมบริโภคที่ทําจากเนื้อปลา เก็บรักษาโดยการแชแข็งและ แชเย็น บรรจุในภาชนะบรรจุ และขนสงโดยภาชนะที่เก็บรักษาอุณหภูมิ ๒. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังตอไปนี้ ๒.๑ ไสอั่วปลา หมายถึง ผลิตภัณฑที่ไดจากการนําเนื้อปลามาบดใหละเอียด อาจเติมมันสัตว เชน มันหมู มันไก ปรุงรสดวยเครื่องปรุงรสและเครื่องเทศหรือสมนุ ไพร เชน เกลอื นา้ํ ตาล ซอี วิ๊ ขาว พรกิ แหง ตะไคร  กระเทยี ม หอมแดง ใบมะกรดู ขมนิ้ กะป  บดหรอื โขลก ผสมใหเขากัน บรรจุในไสหมูที่ลางสะอาดแลว หรือไสชนดิ อนื่ ทบี่ รโิ ภคได  นาํ ไปนงึ่ ปง ทอด หรอื ยา งใหส กุ กอ นบรโิ ภคควรนาํ ไปใหค วามรอ นอกี ครงั้ ๓. คุณลักษณะที่ตองการ ๓.๑ ลักษณะทั่วไป ผิวตองเรยี บ ไมฉ กี ขาด ในภาชนะบรรจเุ ดยี วกนั ตอ งมรี ปู ทรงเดยี วกนั และมขี นาดใกลเ คยี งกนั มกี ารกระจาย ตวั ของสวนประกอบที่ใชคอนขางสม่ําเสมอ ๓.๒ สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของไสอั่วปลา ไมไหมเกรียม ๓.๓ กลิ่นรส ตอ งมกี ลนิ่ รสทดี่ ตี ามธรรมชาติของไสอั่วปลา ปราศจากกลิ่นรสอื่นทไี่ มพ งึ ประสงค  เชน กลนิ่ อบั กลนิ่ หนื รสเปรยี้ ว ๓.๔ ลักษณะเนื้อสัมผัส ตอ งไมร ว นหรอื แขง็ กระดา ง เมื่อตรวจสอบโดยวิธีใหคะแนนตามขอ ๘.๑ แลว ตองไดคะแนนเฉลี่ยของแตละลักษณะจากผูตรวจสอบทุกคน ไมนอยกวา ๓ คะแนน และไมมีลักษณะใดได ๑ คะแนนจากผูตรวจสอบคนใดคนหนึ่ง - ๑ - มผช.๑๒๒๕/๒๕๔๙ ๓.๕ สิ่งแปลกปลอม ตองไมพบสิ่งแปลกปลอมที่ไมใชสวนประกอบที่ใช เชน เสนผม ดิน ทราย กรวด ชิ้นสวนหรือสิ่งปฏิกูล จากสัตว ๓.๖ โปรตีน ตองไมนอยกวารอยละ ๑๓ โดยน้ําหนัก ๓.๗ ไขมัน ตองไมเกินรอยละ ๓๐ โดยน้ําหนัก ๓.๘ วัตถุเจือปนอาหาร ๓.๘.๑ หามใชสีสังเคราะหและวัตถุกันเสียทุกชนิด เวน แตกรณีที่ติดมากับวัตถุดิบ ใหเปนไปตามชนิดและ ปริมาณที่กฎหมายกําหนด ๓.๘.๒ หากมีการใชฟอสเฟตในรูปของโมโน- ได- และโพลิของเกลือโซเดียมหรือเกลือโพแทสเซียม อยา งใดอยางหนึ่งหรือรวมกัน (คํานวณเปนฟอสฟอรัสทงั้ หมดในรปู P O ) ตอ งไมเ กนิ ๓ ๐๐๐ 2 5 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ๓.๙ จุลินทรีย ๓.๙.๑ จํานวนจุลินทรียทั้งหมด ตองนอยกวา ๑ ๑๐๖ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม × ๓.๙.๒ ซาลโมเนลลา ตองไมพบในตัวอยาง ๒๕ กรัม ๓.๙.๓ สตาฟโลค็อกคัส ออเรียส ตองนอยกวา ๑๐๐ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๙.๔ คลอสตริเดียม เพอรฟริงเจนส ตองไมพบในตัวอยาง ๐.๐๑ กรัม ๓.๙.๕ เอสเชอริเชีย โคไล โดยวิธีเอ็มพีเอ็น ตองนอยกวา ๓ ตอตัวอยาง ๑ กรัม ๓.๙.๖ ยีสตและรา ตองไมเกิน ๑๐๐ โคโลนีตอตัวอยาง ๑ กรัม ๔. สขุ ลกั ษณะ ๔.๑ สขุ ลกั ษณะในการทาํ ไสอ วั่ ปลา ใหเ ปน ไปตามคาํ แนะนาํ ตามภาคผนวก ก. ๕. การบรรจุ ๕.๑ ใหบรรจุไสอั่วปลาในภาชนะบรรจุที่สะอาด ปดไดสนิท และสามารถปองกันการปนเปอนจากสิ่งสกปรก ภายนอกได ๕.๒ น้ําหนักสุทธิของไสอั่วปลาในแตละภาชนะบรรจุ ตองไมนอยกวาที่ระบุไวที่ฉลาก - ๒ - มผช.๑๒๒๕/๒๕๔๙ ๖. เครอื่ งหมายและฉลาก ๖.๑ ที่ภาชนะบรรจุไสอั่วปลาทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียดตอไปนี้ให เห็นไดงาย ชัดเจน (๑) ชื่อเรียกผลิตภัณฑ เชน ไสอั่วปลา ไสอั่วปลาสมุนไพร (๒) สวนประกอบที่สําคัญ (๓) ชนิดและปริมาณวัตถุเจือปนอาหาร (ถามี) (๔) น้ําหนักสุทธิ (๕) วัน เดือน ปที่ทํา และวัน เดือน ปที่หมดอายุ หรือขอความวา “ควรบริโภคกอน (วัน เดือน ป)” (๖) ขอแนะนําในการบริโภคและการเก็บรักษา เชน ควรเก็บไวในตูเย็น (๗) ชอื่ ผทู าํ หรอื สถานทที่ าํ พรอ มสถานทตี่ งั้ หรอื เครอื่ งหมายการคา ทจี่ ดทะเบยี น ในกรณที ใี่ ชภ าษาตา งประเทศ ตอ งมคี วามหมายตรงกบั ภาษาไทยทกี่ าํ หนดไวข า งตน ๗. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ๗.๑ รนุ ในทนี่ ี้ หมายถงึ ไสอ วั่ ปลาทมี่ สี ว นประกอบเดยี วกนั ทาํ โดยกรรมวธิ เี ดยี วกนั ในระยะเวลาเดียวกัน ๗.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ ๗.๒.๑ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบสิ่งแปลกปลอม การบรรจุ และเครื่องหมายและ ฉลาก ใหช กั ตวั อยา งโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบแลว ทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๕ ขอ ๕. และขอ ๖. จึงจะถือวาไสอั่วปลารุนนั้นเปนไปตาม เกณฑที่กําหนด ๗.๒.๒ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป สี กลิ่นรส และลักษณะเน้อื สัมผัส ใหใชตัวอยางที่ผานการทดสอบตามขอ ๗.๒.๑ แลว จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เมื่อตรวจสอบ แลวทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๑ ถึงขอ ๓.๔ จึงจะถือวาไสอ วั่ ปลารุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่ กําหนด ๗.๒.๓ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบโปรตีน ไขมัน และวัตถุเจือปนอาหาร ให ชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรนุ เดยี วกนั จาํ นวน ๓ หนว ยภาชนะบรรจ ุ เพอื่ ทาํ เปน ตวั อยา งรวม โดยมี นา้ํ หนกั รวมไมน อ ยกวา ๓๐๐ กรมั กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกนั ใหไ ดต วั อยา งทมี่ นี า้ํ หนกั รวมตามที่กําหนด เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๖ ถงึ ขอ ๓.๘ จงึ จะถือวาไสอ วั่ ปลารุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กําหนด ๗.๒.๔ การชักตัวอยางและการยอมรับ สําหรับการทดสอบจลุ นิ ทรยี  ใหช กั ตวั อยา งโดยวธิ สี มุ จากรนุ เดยี วกนั จํานวน ๓ หนวยภาชนะบรรจุ เพื่อทําเปนตัวอยางรวม โดยมีน้ําหนักรวมไมนอยกวา ๒๐๐ กรัม กรณีตัวอยางไมพอใหชักตัวอยางเพิ่มโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกันใหไดตัวอยางที่มีน้ําหนักรวมตามที่ กําหนด เมื่อตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ ๓.๙ จึงจะถือวาไสอ วั่ ปลารุนนั้นเปนไปตาม เกณฑที่กําหนด - ๓ - มผช.๑๒๒๕/๒๕๔๙ ๗.๓ เกณฑตัดสิน ตัวอยางไสอ ั่วปลาตองเปนไปตามขอ ๗.๒.๑ ขอ ๗.๒.๒ ขอ ๗.๒.๓ และขอ ๗.๒.๔ ทุกขอ จึงจะถือวา ไสอั่วปลารุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ ๘. การทดสอบ ๘.๑ การทดสอบลกั ษณะทวั่ ไป ส ี กลนิ่ รส และลกั ษณะเนอื้ สมั ผสั ๘.๑.๑ ใหแ ตง ตงั้ คณะผตู รวจสอบ ประกอบดว ยผทู ี่มีความชํานาญในการตรวจสอบไสอ วั่ ปลาอยา งนอ ย ๕ คน แตล ะคนจะแยกกนั ตรวจและใหค ะแนนโดยอสิ ระ ๘.๑.๒ วางตวั อยา งไสอั่วปลาลงบนจานกระเบอื้ งสขี าว กรณไี สอ ั่วปลาแชแข็งใหทงิ้ ไวท อ่ี ณุ หภมู หิ อ งจนนา้ํ แขง็ ละลาย ตรวจสอบลกั ษณะทวั่ ไปและสโี ดยการตรวจพนิ จิ นาํ ตวั อยา งไสอ วั่ ปลาไปใหค วามรอ นทอี่ ณุ หภมู ิ และระยะเวลาทเี่ หมาะสม ตรวจสอบกลนิ่ รสและลกั ษณะเนอื้ สมั ผสั โดยการชมิ ๘.๑.๓ หลกั เกณฑก ารใหค ะแนน ใหเ ปน ไปตามตารางท ี่ ๑ ตารางที่ ๑ หลักเกณฑการใหคะแนน (ขอ ๘.๑.๓) ระดับการตัดสิน (คะแนน) ลักษณะที่ตรวจสอบ เกณฑที่กําหนด ดีมาก ดี พอใช ตองปรับปรุง ลักษณะทั่วไป ผิวตองเรียบ ไมฉีกขาด ในภาชนะบรรจุ ๔ ๓ ๒ ๑ เดียวกันตองมีรูปทรงเดียวกันและมี ขนาดใกลเคียงกัน มีการกระจายตัวของ สวนประกอบที่ใชคอนขางสม่ําเสมอ สี ตองมีสีที่ดีตามธรรมชาติของไสอั่วปลา ๔ ๓ ๒ ๑ ไมไหมเกรียม กลิ่นรส ตอ งมกี ลนิ่ รสทดี่ ตี ามธรรมชาตขิ องไสอ วั่ ๔ ๓ ๒ ๑ ปลา ปราศจากกลนิ่ รสอนื่ ทไี่ มพ งึ ประสงค  เชน กลนิ่ อบั กลนิ่ หนื รสเปรยี้ ว ลักษณะเนื้อสัมผัส ตอ งไมร ว นหรอื แขง็ กระดา ง ๔ ๓ ๒ ๑ - ๔ - มผช.๑๒๒๕/๒๕๔๙ ๘.๒ การทดสอบสงิ่ แปลกปลอม ภาชนะบรรจ ุ และเครอื่ งหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจ ๘.๓ การทดสอบโปรตีน ไขมัน และวัตถุเจือปนอาหาร ใหใ ชว ธิ ที ดสอบตาม AOAC หรอื วธิ ที ดสอบอนื่ ทเี่ ปน ทยี่ อมรบั ๘.๔ การทดสอบจุลินทรีย ใหใ ชว ธิ ที ดสอบตาม AOAC หรอื BAM หรอื วธิ ที ดสอบอนื่ ทเี่ ปน ทยี่ อมรบั ๘.๕ การทดสอบน้ําหนักสุทธิ ใหใชเครื่องชั่งที่เหมาะสม - ๕ - มผช.๑๒๒๕/๒๕๔๙ ภาคผนวก ก. สุขลักษณะ (ขอ ๔.๑) ก.๑ สถานที่ตั้งและอาคารที่ทํา ก.๑.๑ สถานที่ตั้งอาคารและที่ใกลเคียง อยูในที่ที่จะไมทําใหผลิตภัณฑที่ทําเกิดการปนเปอนไดงาย โดย ก.๑.๑.๑ สถานที่ตั้งตัวอาคารและบริเวณโดยรอบ สะอาด ไมมีน้ําขังแฉะและสกปรก ก.๑.๑.๒ อยูหางจากบริเวณหรือสถานที่ที่มีฝุน เขมา ควัน มากผิดปกติ ก.๑.๑.๓ ไมอยูใกลเ คียงกับสถานที่นารังเกียจ เชน บริเวณเพาะเลี้ยงสัตว แหลงเก็บหรือกําจัดขยะ ก.๑.๒ อาคารที่ทํามีขนาดเหมาะสม มีการออกแบบกอสรางในลักษณะที่งายแกการบํารุงรักษา การทําความ สะอาด และสะดวกในการปฏิบัติงาน โดย ก.๑.๒.๑ พื้น ฝาผนัง และเพดานของอาคารทที่ าํ กอ สรา งดว ยวสั ดทุ คี่ งทน เรยี บ ทาํ ความสะอาดและซอ มแซม ใหอ ยใู นสภาพทดี่ ตี ลอดเวลา ก.๑.๒.๒ แยกบริเวณที่ทําออกเปนสัดสวน ไมอยูใกลสุขา ไมมีสิ่งของที่ไมใชแลวหรือไมเกี่ยวของกับการทํา อยูในบริเวณที่ทํา ก.๑.๒.๓ พื้นที่ปฏิบัติงานไมแออัด มีแสงสวางเพียงพอ และมีการระบายอากาศที่เหมาะสม ก.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใชทํา ก.๒.๑ ภาชนะหรืออปุ กรณใ นการทาํ ที่สัมผัสกับผลิตภัณฑ ทาํ จากวัสดุผวิ เรยี บ ไมเ ปน สนมิ ลา งทาํ ความสะอาด ไดงาย ก.๒.๒ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณที่ใช สะอาด เหมาะสมกับการใชงาน ไมกอใหเกิดการปนเปอน ติดตั้งไดงาย มีปริมาณเพียงพอ รวมทั้งสามารถทําความสะอาดไดงายและทั่วถึง ก.๓ การควบคุมกระบวนการทํา ก.๓.๑ วัตถุดิบและสวนผสมในการทํา สะอาด มีคุณภาพ มีการลางหรือทําความสะอาดกอนนําไปใช ก.๓.๒ การทํา การเก็บรักษา การขนยาย และการขนสง ใหมีการปองกันการปนเปอนและการเสื่อมเสียของ ผลิตภัณฑ ก.๔ การสุขาภิบาล การบํารุงรักษา และการทําความสะอาด ก.๔.๑ น้ําที่ใชลางทําความสะอาดเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ และมือของผูทํา เปนน้ําสะอาดและมีปริมาณ เพียงพอ ก.๔.๒ มีวิธกี ารปองกันและกําจัดสัตวนําเชื้อ แมลงและฝุนผง ไมใหเขาบริเวณที่ทําตามความเหมาะสม ก.๔.๓ มีการกําจัดขยะ สงิ่ สกปรก และนา้ํ ทงิ้ อยา งเหมาะสม เพอื่ ไมก อ ใหเ กดิ การปนเปอ นกลบั ลงสผู ลติ ภณั ฑ ก.๔.๔ สารเคมีที่ใชลางทําความสะอาด และใชกําจัดสัตวนําเชื้อและแมลง และใชในปริมาณที่เหมาะสม และ เก็บแยกจากบริเวณที่ทํา เพื่อไมใหเกิดการปนเปอนลงสูผลิตภัณฑได ก.๕ บุคลากรและสุขลักษณะของผูทํา ผูทําทุกคน ตองรักษาความสะอาดสวนบุคคลใหดี เชน สวมเสื้อผาที่สะอาด มีผาคลุมเพื่อปองกันไมให เสนผมหลนลงในผลิตภัณฑ ไมไวเล็บยาว ลางมือใหสะอาดทุกครั้งกอนปฏิบัติงาน หลังการใชหองสุขา และเมื่อมือสกปรก - ๖ -

See more

The list of books you might like

Most books are stored in the elastic cloud where traffic is expensive. For this reason, we have a limit on daily download.